งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คาถาสำหรับนักพูด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คาถาสำหรับนักพูด."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คาถาสำหรับนักพูด

2 1. เตรียมให้พร้อม รองเท้า ทรงผม เตรียมบทพูด เตรียมร่างกาย
เตรียมบทพูด เตรียมร่างกาย เตรียมสุขภาพ เตรียมเสื้อผ้า รองเท้า ทรงผม เตรียมเครื่องเสียง เตรียมอุปกรณ์

3 2.ซ้อมให้ดี ซ้อมกับตัวเอง ซ้อมกับกระจก ซ้อมกับเพื่อน ซ้อมกับคนใกล้ชิด
ซ้อมกับตัวเอง ซ้อมกับกระจก ซ้อมกับเพื่อน ซ้อมกับคนใกล้ชิด ซ้อมหลายๆครั้ง ซ้อมกับเครื่องเทป ซ้อมกับเครื่องขยายเสียง ซ้อมกับเวทีจริง ซ้อมกับอุปกรณ์

4 3.ท่าทีต้องสง่า วางมาดให้เหมาะสมกับงาน กับเรื่องที่พูด
วางมาดให้เหมาะสมกับงาน กับเรื่องที่พูด เริ่มตั้งแต่เข้าไปในที่ประชุม เดินขึ้นเวที บนเวที ขณะพูด ขณะว่าง ขณะลงเวที ขณะกลับมานั่งที่เก่า

5 4. กิริยาต้องสุขุม มาดนิ่ง มาดเข้ม ไม่หลุกหลิก ไม่เล่นเกินไป
มาดนิ่ง มาดเข้ม ไม่หลุกหลิก ไม่เล่นเกินไป ไม่นิ่งเกินไป วางตนเหมาะสมกับงาน เหมาะสมกับผู้ฟัง

6 5.ทักที่ประชุมอย่าวกวน
ทักผู้เชิญ ทักประธาน ทักผู้มีเกียรติ ทักเรียงตามลำดับอาวุโส ทักชื่อและตำแหน่งให้ถูกต้อง ทักทายอย่างให้เกียรติ ไม่ทำเป็นเล่น อย่าให้เกินสามคน ถ้าจำเป็นอย่าให้เกิน ห้าคน

7 6.เริ่มต้นให้โน้มน้าว แสดงตนเป็นพวกเดียวกัน
เปิดฉากให้ตื่นเต้น เปิดฉากให้สงสัย เปิดฉากให้มีพลัง ลำดับเรื่องให้น่าสนใจ ด้วยคำคม ด้วยบทกวี ด้วยคำถาม ด้วยอุปกรณ์ที่จำเป็น ด้วยเทคโนโลยี ด้วยวิธีการไม่ซ้ำกับใครๆ

8 7. เก็บเรื่องราวให้กระฉับ
พูดให้ตรงเวลา อย่าเกินเวลา จัดลำดับให้น่าสนใจ พร้อมตัดทอน พร้อมต่อเติม เตรียมคำพูดขึ้นต้น หัวข้อที่พูด โครงเรื่องน่าสนใจ วิเคราะห์ผู้ฟังตลอดเวลาที่พูด

9 8. ตาจับที่ผู้ฟัง มองให้ทั่วถึง ใช้สายตาให้เกิดประโยชน์
มองให้ทั่วถึง ใช้สายตาให้เกิดประโยชน์ วิเคราะห์สถานการณ์ หาทางออก เตรียมการแก้ปัญหา ให้ความสนใจคนทุกกลุ่ม วิเคราะห์กิริยาการฟัง

10 9. เสียงดังให้พอดี ขณะพูดฟังเสียงตนเอง อย่าดังไป อย่าเบาไป
อย่าดังไป อย่าเบาไป ทำเสียงให้เหมาะกับเรื่อง ใช้เสียงให้น่าสนใจ ใช้ไมโครโฟนให้เป็น สังเกตความสนใจของผู้ฟัง

11 10. อย่าให้มีเอ้ออ้า คำฟุ่มเฟือยทั้งหมด การพูดคำซ้ำ
คำฟุ่มเฟือยทั้งหมด การพูดคำซ้ำ การพูดคำที่มีความหมายคล้ายกัน เหมือนกัน พูดให้เข้าใจง่ายๆ อย่าใช้ศัพท์วิชาการ อย่าพูดภาษาต่างประเทศปนภาษาไทย เคารพผู้ฟังด้วยการเตรียมตัว

12 11. ดูเวลาให้พอครบ เวลาเป็นเรื่องสำคัญ ควรตรงเวลา
เวลาเป็นเรื่องสำคัญ ควรตรงเวลา พร้อมตัดทอน พร้อมสรุปจบ อย่าเกินเวลาอาหาร อย่าดูถูกผู้ฟัง สนใจกับเวลา แต่อย่าพูดว่าเวลาเหลือน้อย สร้างความน่าสนใจตลอดเวลา

13 12. สรุปจบให้จับใจ สรุปด้วยโวหาร สรุปด้วยคำประพันธ์
สรุปด้วยเรื่องเปิดเผย สรุปด้วยแนวคิด สรุปแบบฝากให้คิด สรุปด้วยคำคม ทิ้งท้ายให้ผู้ฟังคิดต่อ


ดาวน์โหลด ppt คาถาสำหรับนักพูด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google