การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ เงินงบประมาณ
1. ความหมายเงินงบประมาณ 2. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินงบประมาณ ประเด็นที่นำเสนอ 1. ความหมายเงินงบประมาณ 2. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินงบประมาณ 2.1 การบันทึกบัญชีการเบิกเงินงบประมาณ ผ่าน PO จ่ายตรง 2.2 การบันทึกบัญชีการเบิกเงินงบประมาณ จ่ายเข้าส่วนราชการ 2.3 เบิกเกินส่งคืน 2.4 ลูกหนี้เงินยืมงบประมาณ
รับใบแจ้งหนี้/หลักฐานขอเบิก เงินงบประมาณ FM อนุมัติและจัดสรร เงินงบประมาณ สินทรัพย์ 5,000 บาท ขึ้นไป FA ก่อหนี้ผูกพัน PO ทะเบียนคุม เงินประจำงวด ทะเบียนคุม หลักฐานขอเบิก รับใบแจ้งหนี้/หลักฐานขอเบิก ขอเบิกเงิน ลงบัญชี GL AP
เงินงบประมาณ (ต่อ) รับเงิน ลงบัญชี AP เอกสาร จ่ายเงิน AP AP ชดใช้ จ่ายผ่าน บัญชีส่วนราชการ จ่ายตรง เจ้าหนี้ / ผู้มีสิทธิ GL รับเงิน ลงบัญชี AP ทะเบียนคุม แบบขอเบิกเงิน เอกสาร จ่ายเงิน AP AP ให้ยืม ชดใช้ ใบสำคัญ
การเบิกเงินงบประมาณผ่าน PO จ่ายตรง กรมบัญชีกลาง/คลังจังหวัด ผู้ขาย ส่วนราชการ สร้างข้อมูลหลักผู้ขาย ส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบและอนุมัติ พิมพ์สัญญา บันทึกสัญญา ตรวจสอบและอนุมัติ พิมพ์ PO/sap log บันทึก PO ตรวจรับงาน บันทึกขอเบิกเงิน รับโอนเงิน เข้าบัญชี บันทึกบัญชี สั่งจ่ายเงิน บันทึกบัญชี 5
การเบิกเงินงบประมาณผ่าน PO จ่ายตรง สร้างข้อมูลหลักผู้ขาย ผข 01 ไม่บันทึกรายการบัญชี บันทึก PO บส 01 บันทึกตรวจรับ บร 01/MIGO Dr. ค่าใช้จ่าย/วัสดุ/พักสินทรัพย์ 100 Cr. รับสินค้าใบสำคัญ/พักสินทรัพย์ บันทึกขอเบิก ZMIRO_KA/ขบ 01 เจ้าหนี้การค้า-บุคคลภายนอก
การเบิกเงินงบประมาณผ่าน PO จ่ายตรง บก.สั่งจ่ายเงินผู้ขาย (กรณีไม่มีภาษี) Auto Dr. เจ้าหนี้การค้า-บุคคลภายนอก 100 Cr. รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงาน รับงบ(ระบุงบ)จากรัฐบาล บก.สั่งจ่ายเงินผู้ขาย (กรณีมีภาษี) Auto Dr. เจ้าหนี้การค้า-บุคคลภายนอก 100 Cr. รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานรับงบ(ระบุงบ)จากรัฐบาล 90 Cr. ภาษี ณ ที่จ่ายรอนำส่ง 10 นำส่งภาษี ให้กรรมสรรพากรAuto
การเบิกเงินงบประมาณผ่าน PO จ่ายตรง บันทึกล้างสินทรัพย์ เป็นสินทรัพย์รายตัว F-04/ สท 13 (AA) Dr. สินทรัพย์(ระบุประเภท) 100 Cr. พักสินทรัพย์ บันทึกล้างสินทรัพย์ เป็นสินทรัพย์รายตัว F-04/ สท 13 (JV) ค่าใช้จ่าย/ค่าครุภัณฑ์มูลค่าต่ำกว่าเกณฑ์
การเบิกเงินงบประมาณเข้าส่วนราชการ บันทึกขอเบิกเงิน รับเงินจากคลัง จ่ายเงิน จ่ายเต็มจำนวน หลักฐานการจ่าย ลงบัญชี ทยอยจ่าย
การเบิกเงินงบประมาณเข้าส่วนราชการ บันทึกขอเบิก ZFB60_KL/ขบ 02 Dr. ค่าใช้จ่าย (ระบุประเภท) 100 Cr. ใบสำคัญค้างจ่าย/เจ้าหนี้การค้า-บุคคลภายนอก ระบบบันทึก Auto กรณีมีภาษี กรณีไม่มีภาษี ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง 90 รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงาน รับเงิน(ระบุประเภท)จากรัฐบาล เงินฝากธนาคาร(เงิน งปม.)
บันทึกจ่ายให้ผู้มีสิทธิ ZF_53_PM/ขจ 05 กรณีจ่ายทั้งจำนวน กรณีมีภาษี กรณีไม่มีภาษี Dr. ใบสำคัญค้างจ่าย 100 Cr. เงินฝากธนาคาร(เงิน งปม.) 90 ภาษีหัก ณ ที่จ่ายรอนำส่ง 10 Auto ภาษีส่งสรรพากร รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงาน รับเงิน(ระบุประเภท)จากรัฐบาล กรณีทยอยจ่าย ครั้งที่ 1 54 60 40 6 กรณีทยอยจ่าย ครั้งที่ 2 46 4 รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงาน รับเงิน(ประเภท)จากรัฐบาล
กรณีไม่มีภาษี
ภาพรวมกระบวนการบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืน 1. บันทึกรับเงินเบิกเกินส่งคืน แบบ บช 01 (BD)/ZGL_BD 2. นำเงินส่งที่ธนาคาร 3. บันทึกนำเงินส่งคลัง แบบ นส 02-1/ZRP_R7 4. บันทึกล้างค่าใช้จ่ายและเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง 5. จับคู่หักล้าง “เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง” ลงบัญชี จบ
ภาพรวมกระบวนการบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืน บันทึกรับเงินเบิกเกินส่งคืน ZGL_BD4/ บช 01 Dr. เงินสดในมือ 30 Cr. เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง นำเงินส่งธนาคาร Auto ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานส่งเงินเบิกเกินให้กรมบัญชีกลาง พักเงินนำส่ง บันทึกนำส่งเงินเบิกเกิน ZRP_R6 /นส 02-1 บันทึกหักล้างค่าใช้จ่าย และเบิกเกินส่งคืน ZGL_BE/บช 01 ค่าใช้จ่าย (ระบุประเภท) จับคู่หักล้าง BD4 BE
ภาพรวมกระบวนการบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืน
การตรวจสอบการบันทึกเบิกเกินส่งคืน
การตรวจสอบการบันทึกเบิกเกินส่งคืน FBL3N รายงานแสดงบัญชีแยกประเภท ข้อสังเกตจากการอ่านรายงานแสดงบัญชีแยกประเภทสิ่งแรกที่เราดูคือมียอดคงเหลือเท่ากับหน้างบทดลอง หน้าต่างของรายงานบอกอะไรบ้าง เริ่มจากคอลัม แรก รหัสหน่วยเบิกจ่าย ศูนย์ต้นทุน เลขที่เอกสารที่ได้จากจากการบันทึก ประเภท BD ประเภทงานขั้นตอนการบันทึกเบิกเกินส่งคืน จำได้ใช้มั๊ยค่ะที่บอก มี 4 ขั้น ตอน คือขั้นตอนที่ 1 การนำส่งเงินที่ธนาคาร และกลับมาบันทึกตั้งบัญชีเบิกเกิน ซึ่งขั้นตอนนี้แหละ BD เป็นที่มาตามปรากฏในรายงาน ส่วนที่เอกสาร ก็คือวันที่บันทึก และวันที่ผ่านรายการ หรือ postg date ก็คือวันที่ ที่เรากำหนดให้รายการที่บันทึกมีผลในระบบ PK ก็คือรายการด้านเดบิต เครดิต สัญลักษณ์แทน เดบิท ก็ 40 50 แทนเครดิต ต่อมาก็เป็นคอลัมของจำนวนเงิน และคอลัมการอ้างอิงที่ จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่ารายการคงค้างมีหลายรายการ จุดที่จะบอกความสัมพันธ์ของแต่ละรายการ ให้สังเกตจากคอลัมการอ้างอิง ตัวเลขทุกตัวในการอ้างอิงมีที่มานะค่ะ เริ่มจาก 2 ตัวแรก มาจาก 2 ตัวหลังของปี คศ. ที่บันทึก 10 ตัวถัดมา มาจากเลขที่เอกสารที่ได้จากการตั้งเบิก 3 ตัว ท้าย เป็นเลขลำดับบรรทัดรายการ
รายงานสถานะการใช้จ่ายงบประมาณ งบหน่วยงบฯ สุทธิ กันเงิน/เบิกแทน ใบสั่งซื้อ/สัญญา เบิกจ่ายสะสม งบคงเหลือ ** 2500700765 ภ.จว.พะเยา 38,302,816.00 390,600.00 25,149,892.23 12,762,323.77 * 2500731701000000 รายการงบ 25,037,375.00 19,071,342.98 5,575,432.02 5711200 งบดำเนินงาน 5711210 ค่าตอบแทน 1,168,780.00 -1,168,780.00 5711220 ค่าใช้สอย 342,000.00 11,015,844.00 -11,357,844.00 5711230 ค่าวัสดุ 48,600.00 5,113,719.00 -5,162,319.00 5711240 ค่าสาธารณูปโภค 1,772,999.98 -1,772,999.98 * 2500731701500005 เงินอุดห 10,000.00 5711410 อุดหนุนทั่วไป * 2500786709700001 โครงการร 478,000.00 239,000.00 5711500 งบรายจ่ายอื่น
ลูกหนี้เงินยืม งบประมาณ บันทึกขอเบิกเงินยืม ลูกหนี้เงินยืม งบประมาณ รับเงินจากคลัง ตัด จ่ายเงินให้ยืมและบันทึกรายการ ขอจ่ายเงินในระบบ งบประมาณ ลูกหนี้ส่งใช้คืนเงินยืม เพิ่ม ใบสำคัญเท่ากับเงินยืม ใบสำคัญมากกว่าเงินยืม ใบสำคัญน้อยกว่าเงินย้ม บันทึกเบิกเกินส่งคืน บันทึกล้างเงินยืม บันทึกล้างเงินยืม บันทึกล้างเงินยืม นำเงินส่งคืนที่ KTBและบันทึกนำส่งเงิน ตัด ขออนุมัติจ่าย ใบสำคัญส่วนเกิน กระทบยอด บันทึกรายการล้างเงินยืมและเบิกเกินส่งคืน บันทึกรายการขอเบิกเงิน 19
ลูกหนี้เงินยืมงบประมาณ เมื่อสัญญายืมได้รับอนุมัติ แบบ ขบ 02/ZFB60_K1 เดบิต ลูกหนี้เงินยืมงบประมาณ 1,000 เครดิต ใบสำคัญค้างจ่าย 1,000 ระบบบันทึก Auto เดบิต ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง 1,000 เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน – หน่วยงาน รับเงิน (ระบุงบ) จากรัฐบาล 1,000 บก.สั่งจ่ายเงิน เข้าบัญชีส่วนราชการ เดบิต เงินฝากธนาคาร (เงิน งปม.) 1,000 เครดิต ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง 1,000
ลูกหนี้เงินยืมงบประมาณ เมื่อจ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิ แบบ ขจ 05/ZF_53_PM เดบิต ใบสำคัญค้างจ่าย 1,000 เครดิต เงินฝากธนาคาร (เงิน งปม) 1,000 ลูกหนี้ส่งใช้ใบสำคัญใบสำคัญเท่ากับเงินยืม แบบ บช 01 (G1)/ZF_02_G1 เงินยืม 100 ใบสำคัญ 100 เดบิต ค่าใช้จ่าย (ระบุประเภท) 1,000 เครดิต ลูกหนี้เงินยืมงบประมาณ 1,000
ลูกหนี้เงินยืมงบประมาณ “เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง” บันทึกนำเงินส่งคลัง แบบ นส 02-1/ZRP_R6 เดบิต พักเงินนำส่ง 100 เครดิต เงินสดในมือ 100 บันทึกล้างลูกหนี้และ เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง แบบ บช 01 (BE)/ZGL_BE เดบิต เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง 100 เครดิต ลูกหนี้เงินยืมงบประมาณ 100 จับคู่หักล้าง BE BD4 “เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง”
ลูกหนี้เงินยืมงบประมาณ ใบสำคัญมากกว่าเงินยืม ล้างใบสำคัญ เท่ากับ ลูกหนี้เงินยืม แบบ บช 01 (G1)/ZF_02_G1 เงินยืม 100 ใบสำคัญ 120 เดบิต ค่าใช้จ่าย (ระบุประเภท) 100 เครดิต ลูกหนี้เงินยืมงบประมาณ 100 ขอเบิกเงินเพิ่ม (ใบสำคัญที่เกินเงินยืม) แบบ ขบ02/ZFB60_KL เดบิต ค่าใช้จ่าย (ระบุประเภท) 20 เครดิต ใบสำคัญค้างจ่าย 20 และบันทึกรายการตามปกติ
ส่งใบสำคัญน้อยกว่า บันทึกลดยอด ล /นฯ เท่าจำนวนใบสำคัญ Dr.ค่าใช้จ่าย 900 Cr. ล/นฯใน งปม. 900 ที่เหลือส่งคืนตามกระบวนงานเบิกเกินส่งคืน 1,000 1,000