กลยุทธ์การตลาดและการบัญชี สำหรับธุรกิจโฮมสเตย์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
มาตรฐานโฮมสเตย์ ดัชนีชี้วัดคุณภาพมาตรฐานโฮมสเตย์ ซึ่งมีจำนวน 8 ด้าน ได้แก่ 1.1 ด้านที่พัก 1.2 ด้านอาหารและโภชนาการ 1.3 ด้านความปลอดภัย 1.4 ด้านการจัดการ 1.5 ด้านกิจกรรมท่องเที่ยว 1.6 ด้านสภาพแวดล้อม 1.7 ด้านมูลค่าเพิ่ม 1.8 ด้านการส่งเสริมการตลาด
กลยุทธ์การตลาด สินค้าและบริการ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย การส่งเสริมการตลาด บุคคล กระบวนการ ลักษณะทางด้านกายภาพ
สินค้าและบริการ ชุมชนต้องรู้สิ่งที่เราขายอะไร ขายการเกษตร ขายวัฒนธรรม ขายความเป็นอยู่ ขายความโบราณ ขายการเรียนรู้ ขายธรรมชาติ จัดกิจกรรมให้เลือกเป็นการสร้างให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ
ราคา ต้นทุน ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน คำนึงถึงความคุณค่า การตั้งราคาขึ้นอยู่กับ ต้นทุน ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน คำนึงถึงความคุณค่า ผลประโยชน์ที่ลูกค้าได้รับกับสิ่งที่ลูกค้าเสียไป กลยุทธ์ราคา ราคาแบบเหมาจ่าย ลดราคาตามจำนวนคน ตั้งราคาตามกลุ่มลูกค้า เช่น ชาวไทย ชาวต่างชาติ ตั้งราคาตามรูปแบบผลิตภัณฑ์(กิจกรรมที่ลูกค้าเลือก)
ช่องทางการจัดจำหน่าย ความสะดวกที่ลูกค้าจะได้รับสินค้า ส่วนใหญ่ใช้ช่องทางตรง
การส่งเสริมการตลาด เพื่อสร้างการรู้จัก จูงใจ และทัศนคติที่ดี เพื่อสร้างการรู้จัก จูงใจ และทัศนคติที่ดี การโฆษณา เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ เว็บไซด์ การประชาสัมพันธ์ เช่น การทำวิดีโอ การส่งเสริมการขาย เช่น การทำโปรโมชั่น การใช้พนักงานขาย การตลาดทางตรง
บุคคล มีความรู้ ความรับผิดชอบ มีอัธยาศัยไมตรี การตอบสนองที่รวดเร็ว ดูแลเอาใจใส่ลูกค้า สร้างความไว้วางใจ มีความน่าเชื่อถือ มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร
กระบวนการ กระบวนการบริการโดยบุคคล การะบวนการบริการเพื่อให้ลูกค้าได้รับบริการ กระบวนการให้บริการข้อมูลสารสนเทศ
ลักษณะทางด้านกายภาพ เป็นส่วนประกอบที่มีส่วนในการช่วยให้ลูกค้ารู้สึกว่าบริการนั้นมี คุณภาพ มีความเหมาะสม เช่น การแต่งกาย สถานที่ เครื่องมือ ที่ใช้ เครื่องหมาย ป้ายต่างๆ สื่อสิ่งพิมพ์ที่สามารถมองเห็น
การทำบัญชีสำหรับโฮมสเตย์ จะนำหลักการทำบัญชีครัวเรือนมาใช้ สามารถรู้รายรับ รายจ่าย ทำให้ทราบว่าควรจะเพิ่มลดรายจ่ายใดบ้างเพื่อให้รายได้สูงขึ้น
ตัวอย่างรายได้ บุไทรโฮมสเตย์ มีบริการด้านการท่องเที่ยวและกิจกรรมบันเทิง มีอัตราค่าบริการ ดังนี้ 1) อาสาสมัครนำเที่ยวตามสถานที่เกษตร และอุทยานแห่งชาติ วันละ 300บาท/คน 2) ค่าดนตรีพื้นเมือง 200 บาท 3) การแสดงฟ้อนรำ ชุดละ 500 บาท 4) การเล่าประวัติหมู่บ้าน 100 บาท 5) ค่านั่งรถอีแต๊กชมการเกษตรในหมู่บ้าน (การปลูกเบญจมาศ การเพาะเห็ดหอม ผักปลอดสารพิษ) 100 บาท/เที่ยว 6) ค่าที่พัก คนละ 150 บาท/คืน 7) ค่าอาหาร คนละ 50-75 บาท/มื้อ และอาหารว่าง คนละ 25 บาท/มื้อ
ตารางการรับ-จ่ายเงิน วัน/เดือน/ปี รายการ รายรับ รายจ่าย ยอดคงเหลือ* ที่มาของรายการ รวม *ยอดคงเหลือ = ช่องยอดคงเหลือวันก่อน + ช่องรายรับ - ช่องรายจ่าย
การบันทึกรายรับ-จ่ายเงิน วัน/เดือน/ปี รายการ รายรับ รายจ่าย ยอดคงเหลือ* 1/ม.ค./54 ยอดยกมาจากเดือนก่อน 1,000 รับเงินเดือน 5,000 6,000 รายได้จากค่าจ้างทำอาหาร 200 6,200 รายได้จากการให้ที่พัก 300 6,500 จ่ายค่าน้ำ ไฟฟ้า 6,300 จ่ายค่าน้ำมัน จ่ายค่าอาหาร 5,700 จ่ายค่าเงินกู้ 4,700 รวม 5,500 1,800 2/ม.ค./54 ยอดยกมาจากเดือน ม.ค. รายได้จากค่าจ้างการแสดง 4,900 5,200 500
สรุปบัญชีรายรับ-รายจ่าย ลำดับที่ เดือน รายรับ(บาท) รายจ่าย(บาท) หมายเหตุ 1 มกราคม 5,500 1,800 2 กุมภาพันธ์ 500 300 3 มีนาคม 4 เมษายน 5 พฤษภาคม 6 มิถุนายน 7 กรกฏาคม 8 สิงหาคม 9 กันยายน 10 ตุลาคม 11 พฤศจิกายน 12 ธันวาคม รวมทั้งสิ้น