โครงการพัฒนาคุณภาพงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
โครงการ พัฒนาการจัดเก็บและค้นหาเอกสาร ส่วนบริหารกิจการจัตุรัสจามจุรี
การเพิ่มประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการบริหารจัดการข้อมูล
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
แผนกบริหารสินค้า (หนังสือไทย) ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เป็นหน่วยงานสนับสนุน ภารกิจหลักตามพันธกิจของ ศูนย์วิทยทรัพยากร ในการ บริหารจัดการด้านงานพัสดุ เพื่อให้สามารถจัดหาพัสดุที่มี คุณภาพ ด้วยความโปร่งใส ถูกต้อง.
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
Risk Management JVKK.
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์
กลุ่ม CU_REGISTRAR_FB
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
2.2 สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ.2554 (ประเภทโครงการใหม่ที่พัฒนาหน่วยงาน)
โปรแกรมสำหรับออกรหัสประเภทกิจกรรม (Activity Type)
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
โครงการ ตรวจเช็คเพื่อความปลอดภัย
ถุงเงิน ถุงทอง.
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
“ยอดขายตำราเรียนเพิ่มขึ้น มีลูกค้ามากขึ้นในกลุ่มมหาวิทยาลัย”
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
โครงการเพิ่มช่องทางการเข้าถึง เครือข่าย CUNET จากเครือข่าย ภายนอกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่ม IT919.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
NU. Library Online Purchasing System
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
แนวทางการจัดทำแผนบริหารและพัฒนากำลังคน: Workforce Planning and Development Worksheet ดร.สุรพงษ์ มาลี ศูนย์บริหารกำลังคนภาครัฐ สำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
อรพินท์ สอนไว
พัฒนาการสื่อสารงานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การเตรียมความพร้อมกับการรองรับ การตรวจคุณภาพระบบใหม่ของห้องปฏิบัติการ
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาคุณภาพงาน โครงการจัดทำฐานข้อมูลหลัก (Master Data )กรณีศึกษา ส่วนงานที่มีวุฒิการศึกษาด้านวิชาชีพเฉพาะทางด้านแพทยศาสตร์ไม่ถูกต้อง กลุ่ม CHANGE ME

รายชื่อหน่วยงานที่ร่วมในทีม คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ ศูนย์การจัดการทรัพยากรมหาวิทยาลัย (CU-ERP)

กระบวนการที่นำมาพัฒนา (VSM) ระบบ CU-HR (CU Human Resource Management) ประกอบไปด้วยระบบต่าง ๆ อาทิ - ระบบโครงสร้างองค์กร (Organization Management) - ระบบบริหารข้อมูลบุคลากร (Personal Administration) - ระบบการสรรหา (Recruitment) - ระบบการจัดการค่าใช้จ่ายบุคลากร (Payroll) - ระบบการจัดการเวลา (Time Management) - ระบบสวัสดิการ (Benefit) - ระบบการฝึกอบรม (Training and Event Management) - ระบบพัฒนาบุคลากร (Personal Development)

ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ 1.การดึงรายงานข้อมูลวุฒิการศึกษามีกระบวนการในการดำเนินงาน หลายขั้นตอน เกิดความล่าช้า 2.วุฒิการศึกษาด้านวิชาชีพทางการแพทย์มีความซับซ้อนและหลากหลาย

เป้าหมายและตัวชี้วัด กรอกข้อมูลวุฒิการศึกษาด้านวิชาชีพเฉพาะทางด้านแพทยศาสตร์มีความถูกต้องตามเงื่อนไขที่ได้กำหนดไว้ สามารถดึงข้อมูลจากระบบ CU-HR ไปใช้ได้ทันที (Real Time) โดยไม่ต้องตรวจสอบความผิดพลาด   ตัวชี้วัด คู่มือฐานข้อมูลวุฒิการศึกษาด้านวิชาชีพเฉพาะทางด้านแพทยศาสตร์ การลงข้อมูลในระบบ CU-HR มีความผิดพลาดลดลง

VSM (ก่อนทำ lean)

สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ ดึงข้อมูลวุฒิการศึกษาในระบบ CU-HR ให้หน่วยงานตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูลวุฒิการศึกษาในระบบ ศึกษาเส้นทางสายอาชีพของวุฒิการศึกษาวิชาชีพเฉพาะ ทางด้านแพทยศาสตร์ แก้ไขข้อมูลวุฒิการศึกษาให้มีความถูกต้อง ส่งข้อมูลวุฒิการศึกษาให้หน่วยงานตรวจสอบอีกครั้ง

ผลลัพธ์ของการพัฒนา ผลการปรับปรุง 1. เจ้าหน้าที่ส่วนกลางทำการปรับปรุง แก้ไขข้อมูลวุฒิการศึกษาในระบบ CU-HR ให้มีความถูกต้อง 2. หน่วยลาศึกษาทำการติดตามวุฒิการศึกษาจากคณะเมื่ออาจารย์รายงานตัวกลับจากลาศึกษา 3. มีการปรับปรุงตัว Master Data ทุกครั้ง เมื่อมีวุฒิการศึกษาได้รับการรับรองจากสำนักงาน กพ.

VSM (หลังทำ lean)

ผลลัพธ์ของการพัฒนา ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ 1.คู่มือฐานข้อมูลวุฒิการศึกษาด้านวิชาชีพเฉพาะทางด้าน แพทยศาสตร์ 2.การลงข้อมูลในระบบ CU-HR มีความถูกต้อง

ขอบคุณค่ะ