หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร  เปิดหลักสูตรมาตั้งแต่ ปี 2523 ผลิตนิสิตระดับปริญญา โทเข้าทำงานในหน่วยราชการและเอกชนมากกว่า 30 รุ่น  หลักสูตรเทคโนโลยีทางอาหารระดับปริญญา.
Advertisements

ข้อมูล แหล่งทุนการศึกษา.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
โครงการจัดตั้งภาควิชาอุตสาหกรรมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ภาควิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยา ให้การศึกษาทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแมลง เพื่อนำความรู้ไปแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ รู้จักแมลงที่มีประโยชน์และโทษ.
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
ปฐมนิเทศนักศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต Doctor of Philosophy
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตด้านสารสนเทศทางธุรกิจ มีวัตถุประสงค์ที่
Master of Science in Marketing
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต Master of Science (Mental Health) ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของหลักสูตร.
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Arts in Pali and Sanskrit Chulalongkorn University วัตถุประสงค์
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สำนักงานภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชา วิศวกรรมโลหการ

Doctor of Philosophy Program in Biopharmaceutical Sciences
หลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอน หลักสูตรปริญญาโท
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
หลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Master of Arts Program in Politics and Governance
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สัตววิทยา (Zoology)
Ph.D. (Thai Theatre and Dance) at CHULA
“ทฤษฎีและปฎิบัติ สร้างสรรค์และวิจัย การละครร่วมสมัย”
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต/ดุษฎีบัณฑิต โครงสร้างของหลักสูตร
MA (Thai Dance) at CHULA
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
การสรรหาบุคคลภายนอก.
โดย ... รศ. สพญ. ดร.ศจีรา คุปพิทยานันท์ ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษา
การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
สาขาวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
“การประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
การใช้งานเว็บไซต์บัณฑิตวิทยาลัย
คุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิขอใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพครู
สรุป ภาษาไทย.
๑. ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน -
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
แนะนำกรรมการ หลักสูตร แผนการเรียน กิจกรรมพิเศษ สิ่งอำนวยความสะดวก.
“การเทียบโอนรายวิชาของนักศึกษาหลักสูตรเทียบโอน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม”
Company LOGO หลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา ที่เปิดรับสมัคร ปี การศึกษา 2551 คณะทันตแพทยศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชารังสีวิทยาช่องปากและใบหน้า.
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Cooperative Education
โครงการ “Train The Trainers”
กระบวนการทำวิจัย เผยแพร่ผลงาน สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร บทความวิจัย
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
งานแนะแนว.
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
งานกิจการนิสิต
นายวีระธัชกร กลิ่นขจร ครูสาขางานสัตวศาสตร์
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
สัมภาษณ์นักศึกษาโครงการ สอ วน. ระดับปริญญาตรี ประจำปี การศึกษา 2558 ดร. เจษฎา ชัยโฉม ประธานสาขาวิชาวิศวกรรม อาหาร เป็นกรรมการสอบสัมภาษณ์นักศึกษาโครงการ.
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
ประเมินเทียบระดับการศึกษาในระดับสูงสุด ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลงทะเบียน ระดับ บัณฑิตศึกษา ศูนย์บริการการศึกษา โดย... ศูนย์บริการการศึกษา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร นโยบายการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารภายในประเทศรวมทั้งการศึกษาการใช้ประโยชน์และศักยภาพของวัตถุดิบทางการเกษตร งานวิจัยที่กำลังดำเนินการ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผัก ผลไม้และเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์นม การศึกษาสมบัติของแป้งและแป้งดัดแปร การตรึงเอนไซม์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการหมัก การพัฒนาการใช้พอลิเมอร์ชีวภาพในผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ การแปรรูปสัตว์น้ำในเชิงลึกและเชิงประยุกต์ ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และโภชนาการอาหาร กระบวนการแปรรูปและวิศวกรรมอาหาร อาหารปลอดภัย GMP HACCP, fermentation, biosensor, yeast technology คณาจารย์มีความหลากหลายและมีประสบการณ์สอนและวิจัยในสาขาต่างๆ อาทิเช่น กระบวนการแปรรูปและวิศวกรรมอาหาร เคมีอาหาร จุลชีววิทยาทางอาหาร อาหารปลอดภัย กฎหมายอาหาร บรรจุภัณฑ์ โภชนาการ การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการทดสอบทางประสาทสัมผัสของอาหาร เป็นต้น

การรับเข้าเรียนต่อในระดับปริญญามหาบัณฑิต รับสมัครตลอดทั้งปี สอบข้อเขียนและสัมภาษณ์ เดือนมกราคม – มีนาคม สำหรับผู้ที่ต้องการสมัครเข้าเรียนในภาคการศึกษาแรกของปีการศึกษา (เริ่มเรียนมิถุนายน) เดือนกันยายน – ตุลาคม สำหรับผู้ที่ต้องการสมัครเข้าเรียนในภาคการศึกษาที่สองของปีการศึกษา (เริ่มเรียนพฤศจิกายน) ส่งใบสมัครพร้อมหลักฐานประกอบการรับสมัครที่บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำหรับการรับสมัครด้วยวิธีพิเศษ (ไม่ต้องสอบข้อเขียน) สามารถยื่นใบสมัครได้ทั้งปี การรับวิธีพิเศษ ผู้สมัครต้องมีคุณสมบัติดังนี้ เกรดเฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า 3.00 และคะแนนภาษาอังกฤษมากกว่า 450 (CU-TEP) ติดต่อสอบถามได้ที่ ดร.ชาลีดา บรมพิชัยชาติกุล ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร โทร 02 218 5534 email: Chaleeda.B@chula.ac.th

การรับเข้าเรียนต่อในระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครเข้าศึกษา สำเร็จ วท.บ. ด้านเทคโนโลยีและ/หรือวิทยาศาสตร์ทางอาหาร โดยมี GPA ≥ 2.25 ในระบบ 4 แต้ม หรือ สำเร็จ วท.ม. ด้านเทคโนโลยีและ/หรือวิทยาศาสตร์ทางอาหาร หรือเทียบเท่า โดยมี GPA ≥ 2.25 ในระบบ 4 แต้ม วิธีการคัดเลือก เสนอสัมมนาโครงร่างวิทยานิพนธ์ที่สนใจจะทำเป็นวิทยานิพนธ์ สอบสัมภาษณ์

โครงการปริญญาเอกร่วมสถาบัน สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร เรียนรายวิชาภายในประเทศ ทำวิจัยที่สถาบันต่างประเทศที่ร่วมโครงการ 1 ปี โดยมีอาจารย์ที่สถาบันนั้นเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม เก็บค่าธรรมเนียมพิเศษเทอมละ 60,000 บาท เป็นเวลา 3 เทอม มีค่าใช้จ่ายสำหรับการทำวิจัยที่สถานบันในต่างประเทศ (ขึ้นอยู่กับประเทศที่ไป) มีสถาบันร่วมโครงการในประเทศ 6 สถาบัน มีสถาบันร่วมโครงการที่ต่างประเทศ (Canada, France, The Netherlands, New Zealand, UK และ USA) รวม 11 สถาบัน