สถาบันคนกลางในช่องทางการจัดจำหน่าย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

Grade A Garment This template can be used as a starter file for a photo album.
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
รหัส หลักการตลาด.
Product and Price ครั้งที่ 12.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
การตลาด กับสิ่งแวดล้อม
BA2301 หลักการตลาด การค้าปลีกและการค้าส่ง
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
บทที่ 2 ตลาดสินค้าเกษตรและตลาดอาหาร
Lesson 8 Personal Selling.
Lesson 5 Place.
MK201 Principles of Marketing
หลักการตลาด บทที่ 17 การตลาดทางตรง.
Gems and Jewelry Electronic Commerce
บทที่ 2 การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
ระบบตะกร้าและระบบชำระเงิน Shopping Cart + Payment
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
Chapter XV Wholesaling Management
Chapter XIII Wholesaling
SVOA COMPANY.
การกำหนดกลยุทธ์การตลาด
บทที่ 13 การค้าส่งและการค้าปลีก (Wholesaling and Retailing)
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
ระบบขายกล้องดิจิตอล Digital sales System.
Computer Application in Customer Relationship Management
แยกตามลักษณะผู้ใช้บริการ
ด้านแลกเปลี่ยนข่าวสาร และการ คมนาคม การส่งจดหมาย การขนส่งภายในและภายนอก ประเทศ การศึกษาทางไกลและการศึกษาใน ห้องเรียน โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต.
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์การคัดเลือก และเงื่อนไข “ร้านถูกใจ”
แผนการดำเนินโครงการโชห่วยช่วยชาติ “ร้านถูกใจ”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
Business Level Strategy กลยุทธ์ระดับธุรกิจ
TESCO RIMPING DAISO Analysis
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
ส่งเสริมการขาย เกมกลยุทธ์
การค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ และ การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า
โครงสร้างช่องทางการจัดจำหน่าย
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 5 การค้าปลีก.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
บทที่ 4 การค้าส่ง.
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
THE QUALITIES เฉพาะคนรู้จริง Target Market. กติกา การเล่นเกม กติกา การเล่นเกม the qualities ๑.จับกลุ่ม ๕ คน แล้วนั่งเป็นแถวให้ครบ ๒.ตั้งชื่อกลุ่มของกลุ่มตนเอง.
9 การจัดจำหน่าย ความหมายและความสำคัญของการจัดจำหน่าย
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
สภาพแวดล้อมของช่องทางการตลาด
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
ระบบสารสนเทศที่แบ่งตามลักษณะการสนับสนุนการทำงาน:
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
การประมูลจัดซื้อจัดจ้างแบบ on-line E-Auction
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
การจัดการช่องทางการจัดจำหน่าย และการกระจายสินค้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาบันคนกลางในช่องทางการจัดจำหน่าย หลักการตลาด บทที่ 11 สถาบันคนกลางในช่องทางการจัดจำหน่าย

ประเภทของผู้ค้าปลีก 1. การจัดประเภทผู้ค้าปลีกตามกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด ห้างสรรพสินค้า (Department Store) ซุปเปอร์สโตร์ (Superstore) ซุปเปอร์มาร์เก็ต (Supermarket) ซุปเปอร์เซ็นเตอร์ (Super Center) ร้านสะดวกซื้อ (Convenience Store) ร้านขายสินค้าเฉพาะอย่าง (Specialty Store) ศูนย์การค้า (Shopping Center)

2. การจัดประเภทผู้ค้าปลีกตามขนาดและความถาวรของร้าน 2.1 การค้าปลีกแบบที่มีตั้งร้านแน่นอน 2.2 การค้าปลีกแบบไม่มีที่ตั้งร้านแน่นอน ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ ผู้ค้าเร่แบบเคลื่อนที่ ร้านค้าปลีกขนาดกลาง การขายตรงโดยพนักงานขาย ร้านค้าปลีกขนาดเล็ก การขายแบบจัดปาร์ตี้ ร้านค้าปลีกแบบแผงจำหน่ายสินค้า การขายตรงผ่านสื่อ การขายผ่านเครื่องอัตโนมัติ

3. การจัดประเภทร้านค้าปลีกตามลักษณะความเป็นเจ้าของ 3.1 ร้านค้าปลีกอิสระ 3.2 ร้านค้าปลีกแบบ ลูกโซ่ 3. การจัดประเภทร้านค้าปลีกตามลักษณะความเป็นเจ้าของ 3.3 ร้านค้าปลีกระบบ สิทธิทางการค้า 3.4 ร้านค้าปลีกแบบ รวมกลุ่มของผู้ค้า ปลีกอิสระ

(Merchant Wholesalers) ประเภทของผู้ค้าส่ง 1. พ่อค้าส่ง (Merchant Wholesalers) 2. ตัวแทนค้าส่ง (Agent Wholesalers)

พ่อค้าส่ง 1. พ่อค้าส่งที่ให้บริการครบวงจร (Full Services Wholesalers) พ่อค้าส่งที่ให้บริการหลากหลายประเภทแก่ผู้ค้าปลีก และผู้ผลิต มีความยืดหยุ่นของหน้าที่งานในการให้บริการสูง มี 3 ประเภท 1. พ่อค้าส่งสินค้าทั่วไป (General Merchandise Wholesalers) จำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคทั่วไป 2. พ่อค้าส่งจำกัดสายผลิตภัณฑ์ (Limited Line Wholesalers ผู้ค้าส่งเสื้อผ้า, ผู้ค้าส่งเครื่องกีฬา 3. พ่อค้าส่งเฉพาะผลิตภัณฑ์ (Specialty Line Wholesalers) ขายหนังสือพิมพ์, ผู้ค้าส่งนม

พ่อค้าส่ง 2. พ่อค้าส่งที่ให้บริการจำกัด (Limited Services Wholesalers) พ่อค้าส่งที่จำกัดขอบเขตการให้บริการแก่ผู้ค้าปลีก และผู้ผลิต มีความยืดหยุ่นของการให้บริการต่ำ มี 4 ประเภท 1. พ่อค้าส่งแบบรับเฉพาะเงินสด และไม่มีบริการขนสินค้า (Cash and carry Wholesalers) ผู้ซื้อต้องเป็นคนขนสินค้า, สินค้าราคาต่ำ เช่น Makro 2. พ่อค้าส่งแบบขายฝาก (Rack Jobber) รับผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตมาฝากขายตาม ร้านค้าปลีก,เป็นคนกำหนดราคาสินค้า ไม่เก็บสินค้าเอง, คล้ายนายหน้า, ไม่มี กรรมสิทธิ์ในสินค้า, การค้าปูนซีเมนต์ 3. พ่อค้าส่งแบบประสานงานการ สั่งซื้อ (Drop Shippers) 4. สหกรณ์ผู้ผลิต (Producers Cooperatives) จัดตั้งขึ้นโดยกลุ่มผู้ผลิตรายย่อย, มักเป็น สินค้าเกษตร เช่น สหกรณ์โคนม

ตัวแทนค้าส่ง (Agent Wholesalers) 3. กิจการประมูลราคาค้าส่ง คือ กลุ่มคนกลางค้าส่งที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในสินค้า มี 3 ประเภท ทำหน้าที่ช่วยผู้ผลิตในการวางแผนการ ตลาดและการขาย เช่น บริษัทดีสแฮม 1. ตัวแทนจำหน่าย (Selling Agent) ชักนำผู้ซื้อและผู้ผลิตมาพบกัน, รับค่า ตอบแทนเป็น % เช่น นายหน้าซื้อขาย ผลผลิตทางการเกษตร 2. นายหน้าค้าส่ง (Broker) เป็นองค์กรที่จัดประสานงานการซื้อ ขายในลักษณะการเปิดประมูล 3. กิจการประมูลราคาค้าส่ง (Action)