การนำเสนอผลงานวิจัยส่วนที่ 5 การใช้ประโยชน์แมลง และจุลินทรีย์ป่าไม้ การเสื่อมสภาพและกลสมบัติของไม้สัก ตัดสางขยายระยะภายหลังถูกเชื้อราทำลายไม้ นายกิตติพัฒน์ ลิขิตวรโชติ นำเสนอในการประชุมวิชาการด้านป่าไม้ “เทคโนโลยีด้านป่าไม้เพื่อประชาชน” วันที่ 28 - 29 มิถุนายน 2554 ณ อาคารกริต สามะพุทธิ กรมป่าไม้
การเสื่อมสภาพและกลสมบัติ ของไม้สักตัดสางขยายระยะภายหลังถูกเชื้อราทำลายไม้ งานวิจัยโรควิทยาป่าไม้ กลุ่มงานแมลงและจุลชีววิทยาป่าไม้ สำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ กรมป่าไม้
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความทนทานและกลสมบัติ ของไม้สักตัดสางขยายระยะ ในการใช้งานสภาพธรรมชาติ
วิธีการทดลอง การทดสอบความทนทานตามธรรมชาติและ กลสมบัติของไม้ใช้วิธี Agar block test การทดสอบความต้านทานการเสียรูปใช้ วิธี Sandwich test
ขนาดไม้ทดลอง 2 x 2 x 1 cm. 2 x 2 x 30 cm.
Pycnoporus sanguineus (White Rot)
Pycnoporus sanguineus
Pycnoporus sanguineus
Gloeophyllum sepiarium (Brown Rot)
Gloeophyllum sepiarium
Gloeophyllum sepiarium
สุโขทัย Lo. 6-10 อายุ 3 เดือน กาญจนบุรี Gs. 6-10
ลักษณะการเข้าทำลายของเชื้อ Pycnoporus sanguineus Gloeophyllum sepiarium
Gloeophyllum sepiarium 2 เดือน 1 เดือน 3 เดือน 4 เดือน Gloeophyllum sepiarium
ทดสอบการรับแรงด้วยเครื่องทดสอบกำลังไม้
Gloeophyllum sepiarium
Gloeophyllum striatum (No.5/42) (Brown Rot)
Percent losses of weight, modulus of rupture and modulus of elasticity of thinning-teak wood from three provinces after 4-month of incubation.