งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
โดย อ.อภินันท์ กำนัลรัตน์

2 วัตถุประสงค์ 1. ความสำคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม/สร้างจิตสำนึก 2. แนวทางในการดำเนินการ หัวข้อ 1. สภาพปัญหา 2. ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหา 3. ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ 4. แนวทางของการแก้ปัญหา

3 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรที่สามารถสร้างทดแทนใหม่ได้ (Renewable Resources) ทรัพยากรที่ไม่สามารถมีการสร้างทดแทนได้ (Non-Renewable Resources) ทรัพยากรที่ไม่มีวันหมด (Perperual Resources) ความหมาย “ สิ่งแวดล้อม(Enviroment) ”: สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเราหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆสิ่งต่างๆเหล่านั้นอาจจะเป็นสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ดิน ฟ้า อากาศ หรือสิ่งที่มีชีวิตต่างๆ เช่น พืช สัตว์ จุลินทรีย์เป็นต้น สิ่งแวดล้อมสามารถเปลี่ยนแปลงได้(Enviroment Change)และส่งผลกระทบ(Impact)ต่อคน และสิ่งมีชีวิตต่างๆได้

4 ผลกระทบของการพัฒนาการทางด้านเกษตรต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ด้านบวก มูลค่าของผลผลิตเพิ่มขึ้น รายได้ของประชาชาติเพิ่มขึ้น สภาพของการอุปโภคบริโภค เครื่องอำนวยความสะดวกดีขึ้น ด้านลบ พื้นที่ป่าไม้ลดลงอย่างรวดเร็ว ผลกระทบต่อเนื่อง มลพิษจาการใช้สารเคมีเกษตร ความถดถอยของทรัพยากรดิน ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม สูญเสียแหล่งทรัพยากรพันธุกรรม(genetic resources) สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) และระบบนิเวศ ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อม สูญเสียสมบัติส่วนรวมของชุมชน

5 การอนุรักษ์และการพัฒนา
การพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable development) การพัฒนาที่คำนึงถึงระบบนิเวศน์(Eco - development) การอนุรักษ์(Conservation) คือ การรักษาให้คงเดิม การสงวน(Protection) คือ การคงไว้ให้อยู่ในสภาพเดิมโดยไม่ต้องไปดำเนินการอะไร นักบริหารจัดการ “ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ”คือ แนวทางในการป้องกันดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่ให้ถูกทำลายหรือเสื่อมสภาพลง ความหมายอื่นๆ wise use, การถนอมให้คงสภาพ, การบูรณะหรือการฟื้นฟู(restoration) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ(development, management, recycle) การจัดการทรัพยกรอย่างยั่งยืน(Sustainable resource management) เกษตรยั่งยืน (Sustainable agriculture)

6 แนวทางการดำเนินการ มีหลายระดับ: 1. นโยบายของรัฐ
2. นักวิชาการ, นักส่งเสริม นักวิชาการเกษตร(ทัศนคติต่อการพัฒนาการเกษตร) 3. เกษตรกร ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง

7 แนวนโยบายรัฐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่(2540-2544)
พัฒนาการเกษตรที่กลมกลืนกับธรรมชาติโดยใช้ประโยชน์และรักษาความอุดมสมบูรณ์ของความหลากหลายพันธุ์พืชและดิน เพิ่มบทบาทของประชาชนในการเรียนรู้การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการเตรียมคนและชุมชน เพื่อรองรับผลกระทบของการพัฒนาจากภาคนอกชนบท สนับสนุนให้มีการผสมผสานมิติทางด้านสิ่งแวดล้อมเข้ากับมิติทางด้านเศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชนิดหรือแบบที่ก่อผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตน้อยที่สุด ให้มีการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยี่ของตนเองเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยคำนึงถึงต้นทุนทางสังคมด้วย

8 2. นักวิชาการ นักส่งเสริม หรือ นักพัฒนาการเกษตร
2. นักวิชาการ นักส่งเสริม หรือ นักพัฒนาการเกษตร วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี่ที่เหมาะสม ลดการใช้ทรัพยากรที่ฟุ่มเฟือยและเกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาเทคโนโลยี่ที่มีพื้นฐานจากภูมิปัญญาท้องถิ่น วิจัยและพัฒนาการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดควบคู่กับการอนุรักษ์ วิจัยและพัฒนาระบบเกษตรที่เกื้อกูลกันในระบบนิเวศเช่น ระบบการปลูกพืชผสมผสาน(mixed cropping) ระบบวนเกษตรกรรม(organic farming) เกษตรอินทรีย์(organic farming) วิจัยและพัฒนาเชิงสหวิทยาการ(interdisciplinary)

9 เกษตรกรและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
การผลิตในทางการเกษตร ( พืช สัตว์ ประมง ป่าไม้) เป็นกิจกรรมที่ผลต่อเนื่องต่อกัน การผลิตใดๆของกิจกรรมหนึ่งจะไปกระทบกับอีกกิจกรรมหนื่ง จากสถานที่หนึ่งไปอีกสถานที่หนึ่งการใช้การผลิตใดๆในอนาคตข้างหน้า มีกฎระเบียบที่ต้องปฏิบัติตามมากขึ้น(WTO)ซึ่งเป็นหน้าที่ของทุกฝ่ายที่จะต้องระมัดระวังมากยิ่งขึ้น


ดาวน์โหลด ppt การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google