งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา 5510610214 นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา 5510610214 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาวัยสงขลานครินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา 5510610214 นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา 5510610214 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาวัยสงขลานครินทร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา 5510610214 นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา 5510610214 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาวัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาวัยสงขลานครินทร์

2 2 กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนา ยางพาราครบวงจร (2542-2546) ด้านอุตสาหกรรมยาง 1. ปรับลดภาษีศุลกากร สารเคมี และวัตถุดิบอื่นๆ ผู้รับผิดชอบ - สอท. และสมาคมยางพาราไทย, สศอ., กรมศุลกากร 2. สนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์ยางในประเทศและเพื่อส่งออก ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, พณ., สถาบันการศึกษา, สวทช., BOI, สอท., สมอ., วว., กรมวิทยาศาสตร์บริการ 3. ประสิทธิภาพการแปรรูป ( ให้ได้การรับรองตามาตรฐานสากล ) 4. พัฒนาเทคโนโลยีด้านผลิตภัณฑ์ยาง ( เน้นการใช้ยางธรรมชาติมากขึ้นมี คุณภาพ ) 5. กำหนดและปรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยางในประเทศให้เป็นสากล ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, สถาบันการศึกษา, สกว., BOI, สมาคมต่างๆ, วว., สวทช., กระทรวงแรงงาน ด้านอุตสาหกรรมไม้ยาง 1. ปรับปรุงพันธ์ยาง สนับสนุนแปรรูปไม้ การใช้ไม้ยางในประเทศ ( แก้ไข กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคการเคลื่อนย้ายไม้ยาง, เงินสงเคราะห์ปลูกยาง ) ผู้รับผิดชอบ - กระทรวงเกษตรฯ, พณ, อก., กระทรวงการคลัง, สวทช., วว., สมาคมธุรกิจไม้ยางพาราไทย

3

4 การจัดทำแผนพัฒนายางพาราไทย ( พันธกิจ ข้อที่ 3) กระทรวงเกษตรฯ แต่งตั้งคณะกรรมการศึกษาการปฏิรูประบบการพัฒนา ยางพาราไทย ( มี รมช. เกษตรฯ เป็นประธาน เมื่อวันที่ 28 ส. ค. 2545 เพื่อ แก้ไขปัญหายางพาราได้อย่างมีระสิทธิภาพ จึงได้กำหนดแนวทางการปฏิรูป ระบบการพัฒนายางพาราไทย ประกอบด้วย 9 พันธกิจ คณะกรรมการฯ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ กำหนดรูปแบบงานโครงการและ งบประมาณ รวมทั้งแหล่งรายได้ เพื่อจัดทำแผนเสนอ ระยะเวลา 5 ปี (2546- 2550) พันธกิจประกอบด้วย 1. ปฏิรูประบบและสถาบันการจัดการยางใหม่ 2. ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และใช้ประโยชน์จากสวนยางเต็มที่ 3. ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ยางที่ได้มาตรฐาน 4. ปฏิรูประบบการวิจัยและพัฒนายาง 5. ปฏิรูประบบตลาดยางทุกด้าน 6. สร้างฐานข้อมูลยางพาราให้ครบถ้วน ถูกต้อง และเชื่อถือได้ 7. สร้างเมืองยาง (rubber city) เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของผลิตภัณฑ์ยางพารา 8. ส่งเสริมให้เกษตรกรและวิสาหกิจมีส่วนร่วมทุกด้าน 9. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคธุรกิจมีส่วนร่วมในทุกด้าน 4

5


ดาวน์โหลด ppt นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา 5510610214 นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา 5510610214 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาวัยสงขลานครินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google