การเสวนาเรื่อง “สุขภาวะสู่อุมมะฮ์ (ประชาชาติ) ที่เข้มแข็ง”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (THINK)
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 เมษายน 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 57.58% สพฉ % สปสช %
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การแจกแจงปกติ.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
คปสอ.เมืองปาน.
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 3 การ นำเสนอ ข้อมูล ในรูป ตาราง ตารางแสดง จำนวน ประชากรของ ประเทศไทย จากการสำ มะโนประชากร และ เคหะ ระหว่าง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเสวนาเรื่อง “สุขภาวะสู่อุมมะฮ์ (ประชาชาติ) ที่เข้มแข็ง” การเสวนาเรื่อง “สุขภาวะสู่อุมมะฮ์ (ประชาชาติ) ที่เข้มแข็ง” ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ วันที่ 18 กรกฎาคม 2555 Action on Smoking and heath Foundation/มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) จำนวนผู้เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ = 415,900 คน เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) = 210,964 คน = 50.7% นั่นคือ ครึ่งหนึ่งของคนไทยเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ 5 โรค (โรคมะเร็ง โรคเส้นเลือดสมอง โรคเส้นเลือด หัวใจ โรคเบาหวาน โรคถุงลมพอง) คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554

การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 โรคมะเร็ง = 80,711 คน โรคเส้นเลือดสมอง = 50,829 คน โรคเส้นเลือดหัวใจ = 34,384 คน โรคเบาหวาน = 26,380 คน ถุงลมโป่งพอง = 18,660 คน รวม = 210,964 คน คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554

การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 จำนวนผู้เสียชีวิต = 210,964 เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี = 56,960 = 27% คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554

ซึ่งเท่ากับ 80% ของโรคไม่ติดต่อทั้งหมด 4 ปัจจัยเสี่ยง ยาสูบ อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ขาดการออกกำลังกาย สุรา เป็นสาเหตุของ 4 กลุ่มโรคไม่ติดต่อหลัก โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคปอดเรื้อรัง ซึ่งเท่ากับ 80% ของโรคไม่ติดต่อทั้งหมด

ปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ยาสูบ อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ขาดการออกกำลังกาย สุรา โรคหัวใจและหลอดเลือด + โรคมะเร็ง เบาหวาน โรคปอดเรื้อรัง +* *โรคปอดจากภาวะอ้วนเกิน

พฤติกรรม/ภาวะเสี่ยง ในประชากร พ.ศ.2550 (%) เพศชาย เพศหญิง ใช้ยาสูบ 41.5 2.4 ดื่มสุรา 63.4 16.1 ขาดการออกกำลังกาย 57.6 67.3 ทานผัก/ผลไม้ไม่พอ 79.5 74.5 ทานของหวานมากกว่า 3ครั้ง/วัน 40.5 ทานของมันมากกว่า 3ครั้ง/วัน 31.2 33.1

จำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ความดันโลหิตสูง = 10.0 ล้านคน เบาหวาน = 3.2 ล้านคน โรคหัวใจ = 690,000 คน โรคเส้นเลือดสมอง = 730,000 คน โรคถุงลมพอง = 270,000 คน การสำรวจสุขภาพประชากรไทย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2552

ความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ ผู้ที่สูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องโดยไม่เลิก - ครึ่งหนึ่งจะเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ (ในประเทศที่พัฒนาแล้ว) - หนึ่งในสามจะเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ (ในประเทศกำลังพัฒนา) ในปี พ.ศ.2553 ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ 5.4 ล้านคน

การเสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสอง ใน 192 ประเทศ พ.ศ.2547 จากโรคหัวใจ 379,000 คน จากโรคหอบหืด 36,900 คน จากมะเร็งปอด 21,400 คน จากโรคติดเชื้อในปอด 165,000 คน รวม 603,000 คน The Lancet 377, 2011

การเสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสอง ใน 192 ประเทศ พ.ศ.2547 จำนวนรวม = 603,000 คน ร้อยละ 47 เป็นผู้หญิง ร้อยละ 25 เป็นผู้ชาย ร้อยละ 28 เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี The Lancet 377, 2011

การเสียชีวิตของคนไทยจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 โรคมะเร็งปอด = 11,210 คน โรคมะเร็งอื่น ๆ = 6,831 คน โรคถุงลมพอง = 11,614 คน โรคปอดอื่น ๆ = 2,841 คน โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง = 10,945 คน โรคอื่น ๆ = 4,803 คน รวม = 48,244 คน คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554

คนไทย 48,244 คน ที่เสียชีวิตจากโรค ที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 คนไทย 48,244 คน ที่เสียชีวิตจากโรค ที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 โดยเฉลี่ยแต่ละคนป่วยหนักเป็นเวลา = 2.1 ปี รวมเวลาที่เจ็บป่วยหนัก = 104,374 ปี โดยเฉลี่ยอายุสั้นลงคนละ = 12.1 ปี รวมเวลาของชีวิตที่เสียไป = 587,710 ปี บุหรี่เป็นสาเหตุของการสูญเสียเวลาแห่งชีวิต อันดับที 2 ของคนไทย คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554

อัตราการสูบบุหรี่ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ (%) ชาย หญิง เบาหวาน 38.7 1.9 ถุงลมพอง 32.0 5.6 ความดันสูง 31.3 2.4 โรคเส้นเลือดสมอง 22.7 3.6 โรคหัวใจ 18.7 การสำรวจสุขภาพประชากรไทย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2552

อัตราการสูบบุหรี่ประชากรไทย (%) พ.ศ.2534 พ.ศ.2552 ลดลง ภาคอีสาน 36.7 23.7 35 ภาคเหนือ 36.0 19.8 45 ภาคใต้ 31.2 24.2 22 ภาคกลาง 30.1 18.9 37 กทม. 23.4 12.0 48 สำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ.2552

การได้รับควันบุหรี่มือสอง (%) ในที่ทำงาน ภายในอาคาร ภัตตาคาร ภาคใต้ 40.8 18.8 ภาคอีสาน 31.1 4.3 ภาคเหนือ 27.6 6.8 ภาคกลาง 24.0 10.7 กทม. 18.2 11.5 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552

การได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน (%) ภาคใต้ 58.1 ภาคเหนือ 39.4 ภาคอีสาน 38.8 ภาคกลาง 36.1 กทม. 22.8 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552

อัตราส่วนผู้ที่เคยสูบบุหรี่และเลิกได้แล้ว (%) ภาคเหนือ 36.2 กทม. 31.4 ภาคอีสาน 29.2 ภาคกลาง 27.7 ภาคใต้ 18.2 เฉลี่ย 28.8 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552

อัตราส่วนผู้สูบบุหรี่ที่เคยพยายามเลิกสูบ ภาคกลาง 55.5 ภาคอีสาน 51.6 ภาคเหนือ 46.8 กทม. 45.6 ภาคใต้ 43.0 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552

บุหรี่ซองสุดท้ายที่ซื้อ ที่ไม่มีรูปภาพคำเตือน บนซอง (%) บุหรี่ซองสุดท้ายที่ซื้อ ที่ไม่มีรูปภาพคำเตือน บนซอง (%) ภาคใต้ 8.6 ภาคเหนือ 4.2 ภาคกลาง 1.7 ภาคอีสาน 1.0 กทม. 0.4 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552

อัตราและจำนวนผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย 2552 % จำนวน (ล้านคน) ภาคใต้ 29.7 2.0 ภาคอีสาน 23.9 4.2 ภาคกลาง 23.2 2.9 ภาคเหนือ 21.5 2.1 กทม. 19.0 1.0 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552

ค่าใช้จ่ายที่สูบบุหรี่ซอง เฉลี่ยต่อเดือน (บาท) กทม. 759 ภาคกลาง 628 ภาคใต้ 545 ภาคอีสาน 523 ภาคเหนือ 460 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552

ภาคใต้ จำนวนผู้สูบบุหรี่ซองที่ผลิตจากโรงงาน = 1,322,500 คน จำนวนผู้สูบบุหรี่ซองที่ผลิตจากโรงงาน = 1,322,500 คน ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนต่อคน = 545 บาท รวมจำนวนค่าใช้จ่ายต่อเดือน = 720.7 ล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อปี = 8,648 ล้านบาท การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552

สรุป ปัญหาการสูบบุหรี่ของภาคใต้ อัตราการสูบบุหรี่สูงที่สุดในประเทศ อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในที่สาธารณะสูงที่สุดใน ประเทศ อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้านสูงที่สุดในประเทศ อัตราการเลิกสูบบุหรี่ได้ต่ำที่สุดในประเทศ อัตราส่วนผู้สูบบุหรี่ที่เคยพยายามเลิกสูบต่ำที่สุดในประเทศ บุหรี่ผิดกฎหมายมีสัดส่วนสูงสุดในประเทศ