งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
PP Nat. Priority PP exp. demand PP area based PP com 37.50 15.36 109.86 31.0 Vertical Program PP ตำบล37.50 PP กองทุนตำบล PPA เขต PPA จว./อำเภอ

2 National Priority Program
หลักการ เป็นแผนงานระดับชาติ ที่ต้องมี Preventive & Cost Benefit กับประชากรไทย ข้อเสนอ 1. ต้องมีหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีดำเนินการของ NPP ชัดเจน มีคณะผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้กำกับทิศทาง 2. ระยะเวลาสิ้นสุดไม่เกิน 3 ปี และให้บูรณาการเข้าระบบปกติ (Service Function) 3. ผ่านขั้นตอนทำ Model Development แล้ว

3 National Priority Program
ปี 2552  สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย (เน้น เบาหวาน ภาวะอ้วน)  อนามัยเด็ก 0-5 ปี (นมแม่ พัฒนาการ สุขภาพช่องปาก)  คัดกรองมะเร็งปากมดลูก

4 สถานการณ์โรคเรื้อรังใน lower middle income counties
โรคเรื้อรังเป็นสาเหตุการตายทั่วโลก ร้อยละ 75 การประมาณการตายใน lower middle income counties (รวมทั้งประเทศไทย) เกิดจากโรคเรื้อรัง โดย  การประมาณการตายทั้งหมดในปี 2005 = 17,749,000 คน  เป็นการตายจากโรคเรื้อรังในปี 2005 = 13,233,000 คน องค์การอนามัยโลกได้ประมาณการตายในรอบ 10 ปี ข้างหน้า ดังนี้  144 ล้านคน ตายจากโรคเรื้อรัง  การตายจากโรคติดเชื้อ, แม่และเด็ก, และการขาดสารอาหาร จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 การตายจากโรคเรื้อรัง จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเบาหวาน

5 สาเหตุสำคัญเกิดจาก  การเพิ่มขึ้นของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน
 การเพิ่มขึ้นของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน  คาดประมาณว่าความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนใน middle income country จะเพิ่มขึ้น ภายใน 10 ปี ข้างหน้า

6 สถานการณ์โรคเรื้อรังในประเทศไทย
ร้อยละ 59 ของการตายในปี 2002 ในประเทศไทยเกิดจากโรครื้อรัง โดย  การตายทั้งหมดของประชากรไทยในปี 2002 = 419,000 คน  การตายจากโรคเรื้อรังในประชากรไทยในปี 2002 = 245,000 คน

7 สำรวจปี 47  คนไทยกินผักและผลไม้เพียง 275 กรัม/คน/วัน (มาตรฐาน 400 กรัม/คน/วัน)  เคลื่อนไหวหรือออกกำลังกายลดลง จากร้อยละ 83.2 (ปี 48) เหลือร้อยละ 78.1 (ปี 49)  อ้วนและลงพุง  เพศชายเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 24 ในปี 50 เป็นร้อยละ 40.6 ในปี 51  เพศหญิงเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 60 ในปี 50 เป็นร้อยละ ในปี 51

8 สาเหตุสำคัญเกิดจาก จะเพิ่มขึ้น ภายใน 10 ปี ข้างหน้า
 การเพิ่มขึ้นของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน  คาดประมาณว่าความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ในประเทศไทย จะเพิ่มขึ้น ภายใน 10 ปี ข้างหน้า

9 แนวทางการแก้ไข  อย่างน้อยร้อยละ 80 ของ premature death ของโรคหัวใจ, Stroke, และ DM Type 2 สามารถป้องกันได้ด้วยการรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดี, การออกกำลังกายสม่ำเสมอ, และการหลีกเลี่ยงบุหรี่  การดำเนินการป้องกันควบคุมในระดับประชากรร่วมกับระดับบุคคล เป็นการดำเนินการที่คุ้มทุน

10 มาตรการหลักในการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
มาตรการที่ 1. ระบบการเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมสุขภาพ และการคัดกรอง ความเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2 ระดับ (ระดับชุมชนและระดับสถานบริการ) มาตรการที่ 2. การสร้างความตระหนัก การให้ความรู้ในวงกว้างและการรณรง สร้างกระแสเน้นเรื่องการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต มาตรการที่ 3. การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมและลดเสี่ยงในชุมชน

11 มาตรการหลักในการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ต่อ)
มาตรการที่ 4. การให้คำปรึกษาและปรับพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย ในสถานบริการ มาตรการที่ 5. การจัดการความรู้ และการเสริมสร้างศักยภาพผู้ดำเนินงานตาม แผนงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคที่มีความสำคัญระดับชาติ ให้มีความเข้มแข็ง มาตรการที่ 6. การนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล

12 ความคาดหวัง  ทราบปัจจัยเสี่ยงในแต่ละพื้นที่
 ทราบปัจจัยเสี่ยงในแต่ละพื้นที่  กลุ่มเสี่ยงได้รับบริการต่อเนื่อง


ดาวน์โหลด ppt การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google