การเสวนาเรื่อง “สุขภาวะสู่อุมมะฮ์ (ประชาชาติ) ที่เข้มแข็ง” การเสวนาเรื่อง “สุขภาวะสู่อุมมะฮ์ (ประชาชาติ) ที่เข้มแข็ง” ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ วันที่ 18 กรกฎาคม 2555 Action on Smoking and heath Foundation/มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) จำนวนผู้เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ = 415,900 คน เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) = 210,964 คน = 50.7% นั่นคือ ครึ่งหนึ่งของคนไทยเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ 5 โรค (โรคมะเร็ง โรคเส้นเลือดสมอง โรคเส้นเลือด หัวใจ โรคเบาหวาน โรคถุงลมพอง) คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 โรคมะเร็ง = 80,711 คน โรคเส้นเลือดสมอง = 50,829 คน โรคเส้นเลือดหัวใจ = 34,384 คน โรคเบาหวาน = 26,380 คน ถุงลมโป่งพอง = 18,660 คน รวม = 210,964 คน คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 จำนวนผู้เสียชีวิต = 210,964 เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี = 56,960 = 27% คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
ซึ่งเท่ากับ 80% ของโรคไม่ติดต่อทั้งหมด 4 ปัจจัยเสี่ยง ยาสูบ อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ขาดการออกกำลังกาย สุรา เป็นสาเหตุของ 4 กลุ่มโรคไม่ติดต่อหลัก โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคปอดเรื้อรัง ซึ่งเท่ากับ 80% ของโรคไม่ติดต่อทั้งหมด
ปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ยาสูบ อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ขาดการออกกำลังกาย สุรา โรคหัวใจและหลอดเลือด + โรคมะเร็ง เบาหวาน โรคปอดเรื้อรัง +* *โรคปอดจากภาวะอ้วนเกิน
พฤติกรรม/ภาวะเสี่ยง ในประชากร พ.ศ.2550 (%) เพศชาย เพศหญิง ใช้ยาสูบ 41.5 2.4 ดื่มสุรา 63.4 16.1 ขาดการออกกำลังกาย 57.6 67.3 ทานผัก/ผลไม้ไม่พอ 79.5 74.5 ทานของหวานมากกว่า 3ครั้ง/วัน 40.5 ทานของมันมากกว่า 3ครั้ง/วัน 31.2 33.1
จำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ความดันโลหิตสูง = 10.0 ล้านคน เบาหวาน = 3.2 ล้านคน โรคหัวใจ = 690,000 คน โรคเส้นเลือดสมอง = 730,000 คน โรคถุงลมพอง = 270,000 คน การสำรวจสุขภาพประชากรไทย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2552
ความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ ผู้ที่สูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องโดยไม่เลิก - ครึ่งหนึ่งจะเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ (ในประเทศที่พัฒนาแล้ว) - หนึ่งในสามจะเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ (ในประเทศกำลังพัฒนา) ในปี พ.ศ.2553 ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ 5.4 ล้านคน
การเสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสอง ใน 192 ประเทศ พ.ศ.2547 จากโรคหัวใจ 379,000 คน จากโรคหอบหืด 36,900 คน จากมะเร็งปอด 21,400 คน จากโรคติดเชื้อในปอด 165,000 คน รวม 603,000 คน The Lancet 377, 2011
การเสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสอง ใน 192 ประเทศ พ.ศ.2547 จำนวนรวม = 603,000 คน ร้อยละ 47 เป็นผู้หญิง ร้อยละ 25 เป็นผู้ชาย ร้อยละ 28 เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี The Lancet 377, 2011
การเสียชีวิตของคนไทยจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 โรคมะเร็งปอด = 11,210 คน โรคมะเร็งอื่น ๆ = 6,831 คน โรคถุงลมพอง = 11,614 คน โรคปอดอื่น ๆ = 2,841 คน โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง = 10,945 คน โรคอื่น ๆ = 4,803 คน รวม = 48,244 คน คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
คนไทย 48,244 คน ที่เสียชีวิตจากโรค ที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 คนไทย 48,244 คน ที่เสียชีวิตจากโรค ที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 โดยเฉลี่ยแต่ละคนป่วยหนักเป็นเวลา = 2.1 ปี รวมเวลาที่เจ็บป่วยหนัก = 104,374 ปี โดยเฉลี่ยอายุสั้นลงคนละ = 12.1 ปี รวมเวลาของชีวิตที่เสียไป = 587,710 ปี บุหรี่เป็นสาเหตุของการสูญเสียเวลาแห่งชีวิต อันดับที 2 ของคนไทย คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
อัตราการสูบบุหรี่ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ (%) ชาย หญิง เบาหวาน 38.7 1.9 ถุงลมพอง 32.0 5.6 ความดันสูง 31.3 2.4 โรคเส้นเลือดสมอง 22.7 3.6 โรคหัวใจ 18.7 การสำรวจสุขภาพประชากรไทย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2552
อัตราการสูบบุหรี่ประชากรไทย (%) พ.ศ.2534 พ.ศ.2552 ลดลง ภาคอีสาน 36.7 23.7 35 ภาคเหนือ 36.0 19.8 45 ภาคใต้ 31.2 24.2 22 ภาคกลาง 30.1 18.9 37 กทม. 23.4 12.0 48 สำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ.2552
การได้รับควันบุหรี่มือสอง (%) ในที่ทำงาน ภายในอาคาร ภัตตาคาร ภาคใต้ 40.8 18.8 ภาคอีสาน 31.1 4.3 ภาคเหนือ 27.6 6.8 ภาคกลาง 24.0 10.7 กทม. 18.2 11.5 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
การได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน (%) ภาคใต้ 58.1 ภาคเหนือ 39.4 ภาคอีสาน 38.8 ภาคกลาง 36.1 กทม. 22.8 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
อัตราส่วนผู้ที่เคยสูบบุหรี่และเลิกได้แล้ว (%) ภาคเหนือ 36.2 กทม. 31.4 ภาคอีสาน 29.2 ภาคกลาง 27.7 ภาคใต้ 18.2 เฉลี่ย 28.8 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
อัตราส่วนผู้สูบบุหรี่ที่เคยพยายามเลิกสูบ ภาคกลาง 55.5 ภาคอีสาน 51.6 ภาคเหนือ 46.8 กทม. 45.6 ภาคใต้ 43.0 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
บุหรี่ซองสุดท้ายที่ซื้อ ที่ไม่มีรูปภาพคำเตือน บนซอง (%) บุหรี่ซองสุดท้ายที่ซื้อ ที่ไม่มีรูปภาพคำเตือน บนซอง (%) ภาคใต้ 8.6 ภาคเหนือ 4.2 ภาคกลาง 1.7 ภาคอีสาน 1.0 กทม. 0.4 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
อัตราและจำนวนผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย 2552 % จำนวน (ล้านคน) ภาคใต้ 29.7 2.0 ภาคอีสาน 23.9 4.2 ภาคกลาง 23.2 2.9 ภาคเหนือ 21.5 2.1 กทม. 19.0 1.0 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
ค่าใช้จ่ายที่สูบบุหรี่ซอง เฉลี่ยต่อเดือน (บาท) กทม. 759 ภาคกลาง 628 ภาคใต้ 545 ภาคอีสาน 523 ภาคเหนือ 460 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
ภาคใต้ จำนวนผู้สูบบุหรี่ซองที่ผลิตจากโรงงาน = 1,322,500 คน จำนวนผู้สูบบุหรี่ซองที่ผลิตจากโรงงาน = 1,322,500 คน ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนต่อคน = 545 บาท รวมจำนวนค่าใช้จ่ายต่อเดือน = 720.7 ล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อปี = 8,648 ล้านบาท การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
สรุป ปัญหาการสูบบุหรี่ของภาคใต้ อัตราการสูบบุหรี่สูงที่สุดในประเทศ อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในที่สาธารณะสูงที่สุดใน ประเทศ อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้านสูงที่สุดในประเทศ อัตราการเลิกสูบบุหรี่ได้ต่ำที่สุดในประเทศ อัตราส่วนผู้สูบบุหรี่ที่เคยพยายามเลิกสูบต่ำที่สุดในประเทศ บุหรี่ผิดกฎหมายมีสัดส่วนสูงสุดในประเทศ