การจัดทำดัชนีรวม (Composite Index) วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง) กรมป่าไม้
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
งป. ทั้งหมด งป. เบิกจ่าย สวรส. วิท ย์ แพทย์สุขภา พจิต สบ ส. อนา มัย คร.คร. พัฒนฯอย , , ,061.3.
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
สถานการณ์การเงินการคลัง
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
ตารางเปรียบเทียบ ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า กลุ่มลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
1 รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 29 ม.ค สำนักการคลังและสินทรัพย์
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
กองแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 พัฒนาและยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ด้านอาหาร เวชภัณฑ์ และสิ่งแวดล้อม พัฒนาและยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ด้านอาหาร เวชภัณฑ์ และสิ่งแวดล้อม.
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การประเมินผลผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่สำคัญ ( พ. ศ. ๒๕๕๓ ) ๑. ความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพ การให้บริการของหน่วยงานระดับ Front Office ( ๓. ๑. ๑. ๑ ) ๒. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการ.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การใช้จ่ายเงินงบประมาณประจำปี พ. ศ.2553 สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สำนักบริหารกลาง 11 สิงหาคม 2553 ณ วันที่ 11 สิงหาคม
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ส่งสัญญาณ ผิดปกติ อุตสาหกรรมเส้นด้ายจากฝ้าย ส่งสัญญาณ ผิดปกติ ภาวะอุตสาหกรรมผ้าผืนอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม ส่งสัญญาณ ผิดปกติ
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนัก ชลประทานที่ 3 วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ. ศ ณ ห้องประชุม 1 สำนัก ชลประทานที่ 3 วาระที่ 3.1 : สรุป รายงาน ผลการเบิกจ่าย.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
แผนที่บ้านหนองสำโรง หมู่ 8 ตำบลโคกนาโก
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำดัชนีรวม (Composite Index) วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม

ดัชนีรวม (Composite Index) ค่าตัวเลขเดียวที่ได้จากการนำเอาค่าของตัวชี้วัดหลาย ๆ ตัวมาผนวกเข้าด้วยกัน ด้วยกระบวนการที่เป็นมาตรฐานสำหรับใช้เป็นมาตรวัดทางสถิติเพื่อชี้สถานการณ์ในภาพรวม ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง การใช้ดัชนีรวมก็เพื่อให้เกิดความเข้าใจง่าย และเป็นเครื่องมือในการสื่อสารให้สาธารณชนได้รับทราบ

แนวทางการจัดทำดัชนีรวม การจัดทำดัชนี ที่มีมาตรฐานเทียบเคียงเป็นผลที่คาดหวังว่าควร จะเป็น โดยอาจเทียบเคียงกับค่าเป้าหมายจากแผนยุทธศาสตร์ หรือเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล หลักการคือปรับค่าผลที่ คาดหวังให้เท่ากับ 100 จากนั้นจึงปรับค่าที่เป็นจริงของตัวชี้วัด ย่อยที่จะนำมาสร้างดัชนี ให้มีค่าตามสัดส่วนกับ 100 การจัดทำดัชนี โดยกำหนดปีฐานให้กับตัวชี้วัด โดยมีค่าเป็น 100 ปีต่อมาจากปีฐานจะมีค่าเทียบเคียงกับปีฐาน กล่าวได้ว่า เป็นการพิจารณาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของดัชนี จากนั้นจึง นำค่าแนวโน้มของดัชนีย่อยทุกตัวมาผนวกกันเป็นดัชนีรวม

วัตถุประสงค์ของการจัดทำดัชนีรวม วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาดัชนีชี้วัด/ตัวชี้วัดในระดับภาพรวมและรายสาขา อุตสาหกรรมที่มีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้น และสามารถเห็น ถึงผลการประเมินและผลการเปลี่ยนแปลงได้ชัดเจนขึ้น เพื่อนำผลจากการพัฒนาดัชนีชี้วัด/ตัวชี้วัด มาใช้ ประเมินผลการพัฒนาอุตสาหกรรมทั้งในภาพรวม และราย สาขาอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพื่อผลักดันให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำดัชนีชี้วัด/ตัวชี้วัดทั้ง ในระดับภาพรวมและรายสาขาอุตสาหกรรมไปสู่การปฏิบัติ

กรอบแนวคิดการจัดทำ Composite Index วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม - ศึกษาและเปรียบเทียบตัวชี้วัดด้านอุตสาหกรรมต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ - รับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงาน/บุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงระบบตัวชี้วัดให้ถูกต้องและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมมากที่สุด - จัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมการผลิตในระดับภาพรวม ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา - คัดเลือกตัวชี้วัดที่มีความเหมาะสมกับลักษณะของแต่ละอุตสาหกรรมรายสาขาที่กำหนดไว้ - นำตัวชี้วัดในระดับภาพรวม มาสร้างดัชนีรวม (composite Index) - นำตัวชี้วัดของแต่ละอุตสาหกรรมที่กำหนดไว้ มาสร้างดัชนีรวมของแต่ละสาขาอุตสาหกรรม  ดัชนีรวม (Composite Index) ในระดับภาพรวมของอุตสาหกรรม  ดัชนีรวม (Composite Index) รายอุตสาหกรรม 18 สาขาอุตสาหกรรม

การคัดเลือกตัวชี้วัดที่ใช้ในการจัดทำดัชนีรวม จากการทบทวนตัวชี้วัด ได้ตัวชี้วัดจำนวน 22 ตัวชี้วัด ซึ่งจำแนก ออกตามมิติของการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อให้ตัวชี้วัดที่นำมา สร้างดัชนีรวมมีความครอบคลุมในมุมมองของการพัฒนา อุตสาหกรรมอย่างรอบด้านขึ้น ภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรม มิติที่ 1 ด้านประสิทธิภาพการผลิต Production Efficiency Indicator) มิติที่ 2 ตัวชี้วัดด้านความสามารถในการแข่งขันและการปรับตัว (Competitiveness and adaptability Indicators) มิติที่ 3 ตัวชี้วัดด้านเสถียรภาพ (Stability Indicators) มิติที่ 4 ตัวชี้วัดด้านความยั่งยืน (Sustainable Indicators)

ตัวชี้วัดในมิติด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (5 ตัว) ผลิตภาพการผลิตโดยรวม (Total Factor Productivity: TFP) ผลิตภาพแรงงาน (Labor Productivity) ผลิตภาพวัตถุดิบ (Material Productivity) ความเข้มข้นในการใช้พลังงาน (Energy Intensity) ตัวชี้วัดในมิติด้านเสถียรภาพ (5 ตัว) การลงทุนในการวิจัยและพัฒนา (R&D Investment) การเพิ่มขึ้นของจำนวนการยื่นขอจดสิทธิบัตร (Patent Application Growth) การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล (Growth of Standard Certification) ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ (New Market Penetration) ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ (Logistics Cost)

ตัวชี้วัดในมิติด้านความสามารถในการแข่งขันและการปรับตัว (5 ตัว) สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิต (Local Content) การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (Growth of Manufacturing GDP origination by SMEs) ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม (Industrial Trade Dependency) อัตราส่วนเงินลงทุนโดยตรงในประเทศ/ต่างประเทศ (DDI/FDI Ratio) การกระจุกตัวของตลาดส่งออก (Export Market Concentration)

ตัวชี้วัดในมิติด้านความยั่งยืน (8 ตัว) การใช้พลังงานใหม่และพลังงานหมุนเวียน (New and renewable Energy) การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 Emission) ปริมาณกากของเสียอันตรายจากโรงงาน (Industrial Hazardous Waste) ผู้ประกอบการที่ทำผิดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม (Violation of Environmental Legal) สัดส่วนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่อยู่ในระบบประกันสังคมต่อแรงงานทั้งหมด (Labor in Social Security System) แรงงานที่มีการศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานต่อจำนวนแรงงานทั้งหมด (Labor Education) การขยายตัวของการจ้างงาน (Growth of Employment) การเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน (Accident to labor) จากตัวชี้วัดในระดับภาพรวมของภาคอุตสาหกรรมรวม 22 ตัวชี้วัด นำมาคัดเลือกให้เป็นตัวชี้วัดให้กับรายสาขาอุตสาหกรรมที่กำหนดไว้ 18 อุตสาหกรรม โดยเลือกตามความสำคัญและความสามารถในการได้ข้อมูล ซึ่งในแต่ละอุตสาหกรรมจะมีอยู่ 10-12 ตัวชี้วัด

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 1. สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม จำนวน 12 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพวัตถุดิบ การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรอง มาตรฐานสากล ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อ ต้นทุนในการผลิตทั้งหมด การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวม ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม การกระจุกตัวของตลาดส่งออก การขยายตัวของการจ้างงาน

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 2. ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 11 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม การลงทุนในการวิจัยและพัฒนา การขยายตัวของการยื่นขอจดสิทธิบัตร การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรอง มาตรฐานสากล ISO ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนใน การผลิตทั้งหมด การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวม ของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม อัตราส่วนเงินลงทุนโดยตรงในประเทศต่อ ต่างประเทศ การกระจุกตัวของตลาดส่งออก

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 3. อาหาร จำนวน 12 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพวัตถุดิบ ความเข้มข้นในการใช้พลังงาน การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนใน การผลิตทั้งหมด การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม การกระจุกตัวของตลาดส่งออก การขยายตัวของการจ้างงาน

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 4. ยานยนต์ จำนวน 10 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพวัตถุดิบ การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุน ในการผลิตทั้งหมด ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม การกระจุกตัวของตลาดส่งออก การขยายตัวของการจ้างงาน

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 5. เหล็ก จำนวน 12 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพวัตถุดิบ ความเข้มข้นในการใช้พลังงาน การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุน ในการผลิตทั้งหมด การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม การกระจุกตัวของตลาดส่งออก การขยายตัวของการจ้างงาน

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 6. ยางและผลิตภัณฑ์ยาง จำนวน 12 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพวัตถุดิบ การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนใน การผลิตทั้งหมด การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม การกระจุกตัวของตลาดส่งออก การขยายตัวของการจ้างงาน

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 7. พลาสติก จำนวน 10 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพวัตถุดิบ การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุน ในการผลิตทั้งหมด ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม การกระจุกตัวของตลาดส่งออก การขยายตัวของการจ้างงาน

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 8. อัญมณีและ เครื่องประดับ จำนวน 10 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพวัตถุดิบ การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อ ต้นทุนในการผลิตทั้งหมด ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม การกระจุกตัวของตลาดส่งออก การขยายตัวของการจ้างงาน

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 9. เฟอร์นิเจอร์ จำนวน 11 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพวัตถุดิบ การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนใน การผลิตทั้งหมด การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม การกระจุกตัวของตลาดส่งออก การขยายตัวของการจ้างงาน

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 10. รองเท้าและเครื่องหนัง จำนวน 10 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพวัตถุดิบ การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อ ต้นทุนในการผลิตทั้งหมด ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม การกระจุกตัวของตลาดส่งออก การขยายตัวของการจ้างงาน

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 11. แม่พิมพ์ จำนวน 12 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพวัตถุดิบ การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรอง มาตรฐานสากล ISO ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อ ต้นทุน ในการผลิตทั้งหมด การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวม ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม การกระจุกตัวของตลาดส่งออก การขยายตัวของการจ้างงาน 12. บรรจุภัณฑ์ 13. กระดาษและสิ่งพิมพ์ 14. เครื่องจักรกล 15. อู่ต่อเรือและซ่อมเรือ 16. ยาและผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ 17. เซรามิก

สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดที่ใช้ 18. เหมืองแร่ จำนวน 10 ตัว ผลิตภาพการผลิตโดยรวม ผลิตภาพแรงงาน ความเข้มข้นในการใช้พลังงาน การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรอง มาตรฐานสากล ISO ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวม ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม การกระจุกตัวของตลาดส่งออก การขยายตัวของการจ้างงาน

การสร้างตัวชี้วัด ผลิตภาพการผลิตโดยรวม (Total Factor Productivity: TFP) ประมวลจากแบบ รง.9 สศอ. ผลิตภาพแรงงาน (Labor Productivity) มูลค่า GDP ของภาคอุตสาหกรรม/ปริมาณแรงงานภาคอุตสาหกรรม ผลิตภาพวัตถุดิบ (Material Productivity) มูลค่าการผลิตของภาคอุตสาหกรรม/มูลค่าวัตถุดิบที่ใช้ในอุตสาหกรรมการ ผลิต (ข้อมูลจากแบบ รง.9) ความเข้มข้นในการใช้พลังงาน (Energy Intensity) ปริมาณการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในอุตสาหกรรมการผลิต (ตันเทียบเท่า น้ำมันดิบ) (ข้อมูลจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ทดแทน) / มูลค่า GDP ของภาคอุตสาหกรรม การลงทุนในการวิจัยและพัฒนา (R&D Investment) มูลค่าการลงทุนใน R&D ในภาคอุตสาหกรรม/มูลค่าการผลิตของผลผลิต ภาคอุตสาหกรรม คูณด้วย 100 (ข้อมูลจากแบบ รง.9)

การเพิ่มขึ้นของจำนวนการยื่นขอจดสิทธิบัตร การเพิ่มขึ้นของการยื่นขอสิทธิบัตรในหมวดสินค้าอุตสาหกรรมของปีปัจจุบันเทียบกับปีที่แล้ว คูณด้วย 100 (ข้อมูลจากกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์) การเพิ่มขึ้นของจำนวนการได้รับรองมาตรฐานสากล การเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ประกอบการที่ได้รับรองมาตรฐานสากล ISO 9000 และ 14001 ของปีปัจจุบันเทียบกับปีที่แล้ว คูณด้วย 100 (ข้อมูลจาก สมอ.) ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ การเพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออกไปยังตลาดที่เป็นเป้าหมายใหม่ของปีปัจจุบัน เทียบกับปีที่แล้ว คูณด้วย 100 [ตลาดใหม่ หมายถึงตลาดอาเซียน] (ข้อมูลจากศูนย์เทคโนโลยีสารมนเทศและการสื่อสาร สำนักปลัดกระทรวงพาณิชย์)

ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ (Logistics Cost) ต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ของภาคอุตสาหกรรม/มูลค่าผลผลิตของภาคอุตสาหกรรม คูณด้วย 100 (ข้อมูลจาก รง.9) การใช้วัตถุดิบในประเทศ (Local content) มูลค่าการใช้วัตถุดิบภายในประเทศ/ต้นทุนการผลิตทั้งหมดของภาคอุตสาหกรรม คูณด้วย 100 (ข้อมูลจาก รง.9) การขยายตัวของมูลค่า GDP ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม มูลค่า GDP ของผู้ประกอบการ SMEs ปีปัจจุบันเทียบกับปีที่ผ่านมาคูณด้วย 100 (สสว.) 12. อัตราส่วนเงินลงทุนโดยตรงในประเทศต่อต่างประเทศ . DDI : . FDI (ข้อมูลจาก BOI) DDI+FDI DDI+FDI 13. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม มูลค่า Import + มูลค่า Export / GDP คูณด้วย 100

การกระจุกตัวของตลาดส่งออก (Export Market Concentration) มูลค่าการส่งออกของภาคอุตสาหกรรมไปยังตลาดส่งออกรอง/มูลค่าการส่งออกของภาคอุตสาหกรรมทั้งหมด คูณด้วย 100 (ตลาดรองหมายถึงประเทศคู่ค้าอื่นๆ ที่ไม่ได้มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด 10 ประเทศ) แรงงานที่อยู่ในระบบประกันสังคม จำนวนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมที่อยู่ในระบบประกันสังคม (ข้อมูลจากสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน) / จำนวนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมทั้งหมด คูณด้วย 100 แรงงานที่มีการศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวนแรงงานที่มีระดับการศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (เกณฑ์มาตรฐาน= สูงกว่าชั้นมัธยม 3) / จำนวนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมทั้งหมด คูณด้วย 100 (ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ) 17. การขยายตัวของการจ้างงาน ปริมาณการจ้างงานในปีปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปจากปีที่ผ่านมา/ปริมาณการจ้างงานในปีที่ผ่านมา คูณด้วย 100 ชาติ

การเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน จำนวนแรงงานที่เคยได้รับอุบัติเหตุจากการทำงานในภาคอุตสาหกรรม (ข้อมูลจากสำนักงานประกันสังคม)/จำนวนแรงงานทั้งหมดในภาคอุตสาหกรรม คูณด้วย 100 การใช้พลังงานใหม่และหมุนเวียน ปริมาณพลังงานใหม่และหมุนเวียนที่ใช้ทั้งหมดในอุตสาหกรรมการผลิต (พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) / ปริมาณพลังงานที่ใช้ทั้งหมดในอุตสาหกรรมการผลิต (พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) คูณด้วย 100 (ข้อมูลจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน) การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากภาคอุตสาหกรรม (ข้อมูจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน) / GDP ของภาคอุตสาหกรรม คูณด้วย 100

จำนวนโรงงานที่ทำผิดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม จำนวนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมที่ทำผิดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม/จำนวนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทั้งหมด คูณด้วย 100 (ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม) กากของเสียอันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรม ปริมาณพลังงานใหม่และหมุนเวียนที่ใช้ทั้งหมดในอุตสาหกรรมการผลิต (พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) /ปริมาณพลังงานที่ใช้ทั้งหมดในอุตสาหกรรมการผลิต (พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) คูณด้วย 100 (ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมหรือจากรายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย กองควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

ผลการประเมินการพัฒนาอุตสาหกรรม จากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม ผลการประเมินการพัฒนาอุตสาหกรรม จากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม

ผลการประเมินการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาพรวม จากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม จากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาพรวมที่ได้ทบทวนแล้ว ใน 4 มิติ มีทั้งสิ้น 22 ตัวชี้วัด นำมาแสดงข้อมูลเพื่อการประเมินภาพการพัฒนาอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ตารางแสดงอัตราการขยายตัวของผลิตภาพการผลิตโดยรวมของภาคอุตสาหกรรม พ.ศ. 2550–2553 ปี ระดับผลิตภาพการผลิตโดยรวม (TFP) ของภาคอุตสาหกรรม (หน่วย: ร้อยละ) อัตราการขยายตัวของผลิตภาพการผลิตโดยรวม (TFPG) ของภาคอุตสาหกรรม 2550 94.52 0.02 2551 93.61 -0.97 2552 93.54 -0.07 2553 ยังไม่มีการประมวลผลจากแหล่งข้อมูล ที่มา: ข้อมูลระดับผลิตภาพโดยรวม ได้จากรายงานผลิตภาพและผลประกอบการอุตสาหกรรม ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

แผนภาพแสดงผลิตภาพการผลิตโดยรวม (TFP) ของภาคอุตสาหกรรม พ.ศ. 2550-2552

มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ตารางแสดงผลิตภาพแรงงานภาคอุตสาหกรรมการผลิต พ.ศ. 2550-2553 ปี มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรม (หน่วย: บาท) จำนวนแรงงานทั้งหมด (หน่วย: คน/ปี) ผลิตภาพแรงงาน (หน่วย: บาท/คน/ปี) 2550 1,686,372,000,000 5,619,228 300,107 2551 1,751,411,000,000 5,453,270 321,167 2552 1,645,015,000,000 5,373,905 306,112 2553 1,873,170,000,000 5,348,790 350,204 ที่มา: มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรมการผลิต ได้จากบัญชีรายได้ประชาชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ โดยใช้ข้อมูล ณ ราคาคงที่ ของการคำนวณด้านรายได้ (Income Approach) จำนวนแรงงานแรงงานทั้งหมด ได้จากสถิติภาวะการทำงานของประชากรภาคอุตสาหกรรมการผลิต สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

แผนภาพแสดงผลิตภาพแรงงานภาคอุตสาหกรรมการผลิต พ.ศ. 2550-2553

ผลการประเมินการพัฒนารายสาขาอุตสาหกรรมจากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม จากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาพรวมที่ได้ทบทวนแล้ว มีทั้งสิ้น 10-12 ตัวชี้วัด นำมาแสดงข้อมูลเพื่อการประเมินภาพการพัฒนาอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ตารางแสดงอัตราการขยายตัวการส่งออกสินค้าของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไปยังตลาดใหม่ พ.ศ. 2550–2552 ตัวชี้วัด 2550 2551 2552 ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ (อัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกในตลาดใหม่) (หน่วย: คิดเป็นร้อยละ) 19.30 4.90 26.65 ที่มา: ข้อมูลการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไปยังประเทศกลุ่มอาเซียน ได้จากกระทรวงพาณิชย์ หมายเหตุ: ในที่นี้ ตลาดใหม่หมายถึง กลุ่มตลาดอาเซียน 9 ประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยนค่าเงินบาท อ้างอิงจากธนาคารแห่งประเทศไทย โดยคิดค่าเฉลี่ยของมูลค่าในแต่ละปี

ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ มูลค่าการส่งออกไปยังตลาดเป้าหมายใหม่ ตารางแสดงการขยายตัวการส่งออกสินค้าของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไปยังตลาดใหม่ พ.ศ. 2550–2552 ปี ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ มูลค่าการส่งออกไปยังตลาดเป้าหมายใหม่ (ล้านบาท) อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) 2550 1,570 19.30 2551 1,647 4.90 2552 2,086 26.65 ที่มา: มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไปยังประเทศกลุ่มอาเซียน ได้ จากกระทรวงพาณิชย์ หมายเหตุ: ในที่นี้ ตลาดใหม่หมายถึง กลุ่มตลาดอาเซียน 9 ประเทศ และอัตรา แลกเปลี่ยนค่าเงินบาท อ้างอิงจากธนาคารแห่งประเทศไทย โดยคิดค่าเฉลี่ย ของมูลค่าในแต่ละปี

แผนภาพแสดงอัตราการขยายตัวการส่งออกสินค้าของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไปยังตลาดใหม่ พ.ศ. 2550–2552

ตารางแสดงระดับการเปิดของอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล พ.ศ. 2550–2552 ปี มูลค่าการส่งออก (ล้านบาท) มูลค่าการนำเข้า GDP รายสาขาอุตสาหกรรม ระดับการเปิดของอุตสาหกรรม (หน่วย: ร้อยละ) 2550 1,877 17,141 54,273 13.98 2551 1,606 15,903 61,103 11.64 2552 2,023 17,943 55,247 14.08 ที่มา: การนำเข้าและส่งออก จากศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรมการผลิต จากสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ โดยใช้ข้อมูล ณ ราคาคงที่

แผนภาพแสดงระดับการเปิดของอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล พ.ศ. 2550–2552

การสร้างดัชนีรวมจากตัวชี้วัด ตัวชี้วัด 22 ตัว จะใช้ในการจัดทำ Composite Index โดยจำแนกอก ตามมิติการพัฒนาอุตสาหกรรม 4 มิติ และรวมทุกมิติ ทำให้ดัชนีรวมวัด การพัฒนาอุตสาหกรรม มีจำนวน 5 ดัชนี Composite Index วัดการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา 18 อุตสาหกรรม ไม่มีการจำแนกรายมิติเนื่องจากตัวชี้วัดมีจำนวนน้อย ทำ ให้ดัชนีรวมวัดการพัฒนารายสาขาอุตสาหกรรม มีจำนวน 18 ดัชนี ตามจำนวนอุตสาหกรรมที่กำหนดไว้ ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรม ที่สร้างขึ้นเป็นดัชนีแนวโน้มที่ใช้ดู ระดับการพัฒนาเมื่อเวลาผ่านไป โดยใช้ปีใดปีหนึ่งเป็นปีฐาน โดยปกติ ปีฐานจะใช้ปีที่มีระดับการพัฒนาที่ค่อนข้างมีเสถียรภาพ สำหรับ การศึกษาครั้งนี้ได้กำหนดให้ปี 2550 เป็นปีฐาน เพื่อวัดผลการพัฒนา อุตสาหกรรมต่อเนื่องในปีต่อไป โดยทดลองทำ 3 ปี คือ ปี 2550-2552

การสร้างดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรม ระดับภาพรวม ให้ ความสำคัญต่อมิติการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมอย่างเท่าเทียมกัน จึงมีค่า เท่ากับ 0.25 ในแต่ละมิติ การสร้างดัชนีรวมการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา ไม่มีการจำแนกราย มิติ เนื่องจากตัวชี้วัดมีจำนวนน้อยกว่า กรณีดัชนีรวมของอุตสาหกรรมในระดับภาพรวม ในที่นี้ Composite Index = 0.25 [(PE1+PE2+PE3+PE4)/4] + 0.25 [(CA1+CA2+CA3+CA4+CA5)/5] + 0.25 (St1+St2+St3+St4+St5)/5] + 0.25(Su1+Su2+Su3+Su4+Su5+Su6+Su7+Su8)/8] กรณีดัชนีรวมรายสาขาอุตสาหกรรม ในที่นี้ Composite Index = (I1+I2+I3+..........+In) * 1/n

การสร้างดัชนีเพื่อการวัดการพัฒนา ในภาพรวมของภาคอุตสาหกรรม

มิติที่ 1 การพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (Production Efficiency) 1. ดัชนีผลิตภาพการผลิตโดยรวม ปี ระดับผลิตภาพการผลิตโดยรวม (TFP) ของภาคอุตสาหกรรม ค่าดัชนีแนวโน้มของผลิตภาพการผลิตโดยรวมของภาคอุตสาหกรรม 2550 94.52 100 2551 93.61 99.03 2552 93.54 98.96 2. ดัชนีผลิตภาพแรงงาน ปี ผลิตภาพแรงงาน (หน่วย: บาท/คน/ปี) ดัชนีแนวโน้มของผลิตภาพแรงงานของภาคอุตสาหกรรม 2550 300,107 100 2551 321,167 107.02 2552 306,112 102.00

3. ดัชนีผลิตภาพวัตถุดิบ ปี ผลิตภาพวัตถุดิบ (หน่วย: บาท) 3. ดัชนีผลิตภาพวัตถุดิบ ปี ผลิตภาพวัตถุดิบ (หน่วย: บาท) ดัชนีแนวโน้มของผลิตภาพวัตถุดิบของภาคอุตสาหกรรม 2550 1.79 100 2551 1.22 68.15 2552 1.30 72.63 4. ดัชนีความเข้มข้นในการใช้พลังงาน (Energy Intensity) ปี ความเข้มข้นในการใช้พลังงาน (Energy Intensity) (หน่วย: toe/ล้านบาท) ดัชนีแนวโน้มของ (การลด) ความเข้มข้นในการใช้พลังงานของภาคอุตสาหกรรม 2550 13.95 100 2551 13.80 101.08 2552 14.31 97.42

5. ดัชนีการลงทุนในการวิจัยและพัฒนา (R&D Investment) มิติที่ 2 ความสามารถในการแข่งขันและการปรับตัว (Competitiveness and Adaptability) 5. ดัชนีการลงทุนในการวิจัยและพัฒนา (R&D Investment) ปี มูลค่าค่าใช้จ่าย R&D ต่อมูลค่าการผลิต (หน่วย: ร้อยละ) ดัชนีแนวโน้มของการลงทุน ในการวิจัยและพัฒนา ของภาคอุตสาหกรรม 2550 0.43 100 2551 0.08 18.60 2552 0.04 9.30 6. ดัชนีการเพิ่มขึ้นของจำนวนการยื่นขอจดสิทธิบัตร (Patent Application Growth) ปี คำขอรับสิทธิบัตรทั้งหมด (หน่วย: ราย) ดัชนีแนวโน้มของการเพิ่มขึ้นของจำนวนการยื่นขอจดสิทธิบัตรของภาคอุตสาหกรรม 2550 3,478 100 2551 3,637 104.57 2552 4,196 120.64

7. ดัชนีการเพิ่มขึ้นของจำนวนการได้รับการรับรองมาตรฐานสากล ปี จำนวนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการผลิตที่ผ่านมาตรฐานสากล (หน่วย: ราย) ดัชนีแนวโน้มของการเพิ่มขึ้นของจำนวนการยื่นขอจดสิทธิบัตรของภาคอุตสาหกรรม 2550 381 100 2551 494 129.66 2552 871 228.60 8. ดัชนีความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ ปี มูลค่าการส่งออกไปตลาดใหม่ ของสินค้าอุตสาหกรรม (หน่วย: บาท) ดัชนีแนวโน้มของความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ของภาคอุตสาหกรรม 2550 835,894.6 100 2551 930,296.8 111.29 2552 790,575.2 94.57

9. ดัชนีค่าใช้จ่ายทางด้านโลจิสติกส์ ปี ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าสำเร็จรูปต่อมูลค่าการผลิต (หน่วย: ร้อยละ) ดัชนีแนวโน้มของ (การลด) ค่าใช้จ่ายทางด้านโลจิสติกส์ของภาคอุตสาหกรรม 2550 1.33 100 2551 1.54 84.21 2552 0.63 147.37

ต้นทุนวัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนการผลิตรวม มิติที่ 3 ด้านเสถียรภาพ (Stability) 10. ดัชนีสัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการ ผลิตทั้งหมด (Local content) ปี ต้นทุนวัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนการผลิตรวม (หน่วย: ร้อยละ) ดัชนีแนวโน้มของสัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมดของภาคอุตสาหกรรม 2550 53.22 100 2551 70.28 132.05 2552 54.10 101.65

11. ดัชนีอัตราการขยายตัวของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของ SMEs ปี มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (หน่วย: ล้านบาท) ดัชนีแนวโน้มของอัตราการขยายตัวของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของ SMEs ของภาคอุตสาหกรรม 2550 1,021,056 100 2551 1,066,663 104.47 2552 1,037,865 101.65 12. ดัชนีสัดส่วนมูลค่าเงินลงทุนโดยตรงในประเทศต่อต่างประเทศ ปี DDI/FDI (ร้อยละ/ร้อยละ) ดัชนีสัดส่วนมูลค่าเงินลงทุนโดยตรงในประเทศต่อต่างประเทศของภาคอุตสาหกรรม 2550 0.3046 100 2551 0.5000 164.15 2552 1.0623 348.75

13. ดัชนีระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 13. ดัชนีระดับความเปิดของอุตสาหกรรม ปี ระดับการเปิดของอุตสาหกรรม (หน่วย: ร้อยละ) ดัชนีระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 2550 322.11 100 2551 334.25 96.23 2552 317.40 101.46 14. ดัชนีการกระจุกตัวของตลาดส่งออก ปี สัดส่วนการส่งออกของอุตสาหกรรมไปยังตลาดรอง ดัชนีการ (ลดลง) ของกระจุกตัวของตลาดส่งออก ของภาคอุตสาหกรรม 2550 38.60 100 2551 38.37 99.40 2552 36.95 95.73

มิติที่ 4 ด้านความยั่งยืน (Sustainability) 15. ตัวชี้วัดการใช้พลังงานใหม่และพลังงานหมุนเวียน ปี สัดส่วนพลังงานใหม่และหมุนเวียนต่อพลังงานทั้งหมด (หน่วย: ร้อยละ) ดัชนีการใช้พลังงานใหม่และพลังงานหมุนเวียนของภาคอุตสาหกรรม 2550 25.34 100 2551 26.23 103.51 2552 28.13 111.01 16. ตัวชี้วัดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ปี สัดส่วนปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อ GDP (หน่วย: ตันต่อล้านบาท) ดัชนีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของภาคอุตสาหกรรม 2550 25.09 100 2551 25.71 97.53 2552 27.45 90.59

17. ตัวชี้วัดปริมาณกากของเสียอันตรายจากโรงงาน 17. ตัวชี้วัดปริมาณกากของเสียอันตรายจากโรงงาน ปี สัดส่วนปริมาณกากของเสียอันตรายที่เกิดจากอุตสาหกรรมต่อ GDP (หน่วย: ตันต่อล้านบาท) ดัชนีปริมาณกากของเสียอันตรายจากโรงงาน ของภาคอุตสาหกรรม 2550 1.10 100 2551 1.39 73.64 2552 1.44 69.09 18. ตัวชี้วัดผู้ประกอบการที่ทำผิดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม ปี สัดส่วนผู้ประกอบการที่ทำผิดกฎหมายสิ่งแวดล้อม (หน่วย: ร้อยละ) ค่าดัชนีผู้ประกอบการที่ทำผิดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมของภาคอุตสาหกรรม 2550 0.07 100 2551 0.04 157.14 2552 0.09 71.43

สัดส่วนแรงงานในระบบต่อแรงงานทั้งหมด (หน่วย: ร้อยละ) 19. ตัวชี้วัดสัดส่วนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่อยู่ในระบบประกันสังคมต่อแรงงานทั้งหมด ปี สัดส่วนแรงงานในระบบต่อแรงงานทั้งหมด (หน่วย: ร้อยละ) ดัชนีสัดส่วนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่อยู่ในระบบประกันสังคมต่อแรงงานทั้งหมดของภาคอุตสาหกรรม 2550 77.49 100 2551 74.26 95.83 2552 73.86 95.32 20. ตัวชี้วัดแรงงานที่มีการศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานต่อจำนวนแรงงานทั้งหมด ปี สัดส่วนแรงงานที่ระดับการศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์ต่อแรงงานทั้งหมด (หน่วย: ร้อยละ) ดัชนีแรงงานที่มีการศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานต่อจำนวนแรงงานทั้งหมดของภาคอุตสาหกรรม 2550 64.42 100 2551 65.26 98.70 2552 65.00 99.10

21. ตัวชี้วัดการขยายตัวของการจ้างงาน 21. ตัวชี้วัดการขยายตัวของการจ้างงาน ปี จำนวนแรงงานที่มีการจ้างในภาคอุตสาหกรรม (หน่วย: คน) ดัชนีการขยายตัวของการจ้างงาน ของภาคอุตสาหกรรม 2550 5,619,228 100 2551 5,453,270 97.05 2552 5,373,905 95.63 22. ตัวชี้วัดการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน ปี สัดส่วนจำนวนแรงงานที่ได้รับอุบัติเหตุ (หน่วย: ร้อยละ) ดัชนีการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานสูง ของภาคอุตสาหกรรม 2550 3.54 100 2551 3.24 108.47 2552 2.78 121.47

สรุปค่าดัชนีย่อย 22 ดัชนี ที่แสดงภาพรวมการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม พ. ศ สรุปค่าดัชนีย่อย 22 ดัชนี ที่แสดงภาพรวมการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อย ค่าดัชนีในแต่ละปี 2550 2551 2552 ดัชนีผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 99.03 98.96 ดัชนีผลิตภาพแรงงาน 107.02 102.00 ดัชนีผลิตภาพวัตถุดิบ 68.15 72.63 ดัชนีความเข้มข้นในการใช้พลังงาน 101.08 97.42 ดัชนีการลงทุนในการวิจัยและพัฒนา 18.60 9.30 ดัชนีการเพิ่มขึ้นของจำนวนการยื่นขอจดสิทธิบัตร 104.57 120.64 ดัชนีการเพิ่มขึ้นของจำนวนการได้รับการรับรอง มาตรฐานสากล 129.66 228.61 ดัชนีความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 111.29 94.57 ดัชนีค่าใช้จ่ายทางด้านโลจิสติกส์ 84.21 147.37 ดัชนีสัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนใน การผลิตทั้งหมด 132.05 101.65

ดัชนีย่อย ค่าดัชนีในแต่ละปี 2550 2551 2552 ดัชนีอัตราการขยายตัวของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศของ SMEs 100 104.47 101.65 ดัชนีสัดส่วนมูลค่าเงินลงทุนโดยตรงในประเทศต่อ ต่างประเทศ 164.15 348.75 ดัชนีระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 96.23 101.46 ดัชนีการกระจุกตัวของตลาดส่งออก 99.40 95.73 ดัชนีการใช้พลังงานใหม่และพลังงานหมุนเวียน 103.51 111.01 ดัชนีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 97.53 90.59 ดัชนีปริมาณกากของเสียอันตรายจากโรงงาน 73.64 69.09 ดัชนีผู้ประกอบการที่ทำผิดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม 157.14 71.43 ดัชนีสัดส่วนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่ อยู่ในระบบประกันสังคมต่อแรงงานทั้งหมด 95.83 95.32 ดัชนีแรงงานที่มีการศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานต่อ จำนวนแรงงานทั้งหมด 98.70 99.10 ดัชนีการขยายตัวของการจ้างงาน 97.05 95.63 ดัชนีการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน 108.47 121.47

Composite Index ของปี 2551 Composite Index ของมิติที่ 1 มีค่าเท่ากับ 93.82 หาจาก (99.03+107.02+68.15+101.08)/4 Composite Index ของมิติที่ 2 มีค่าเท่ากับ 89.67 หาจาก (18.60+104.57+129.66+111.29+84.21)/5 Composite Index ของมิติที่ 3 มีค่าเท่ากับ 119.26 หาจาก (132.05+104.47+164.15+96.23+99.40)/5 Composite Index ของมิติที่ 4 มีค่าเท่ากับ 103.98 หาจาก 103.51+97.53+73.64+157.14+95.83+98.70+97.05+108.47)/8 Composite Index ของภาคอุตสาหกรรมระดับภาพรวม มีค่าเท่ากับ 101.68 หาจาก 0.25(93.82)+0.25(89.67)+0.25(119.26)+0.25(103.98)

Composite Index ของปี 2552 Composite Index ของมิติที่ 1 มีค่าเท่ากับ 92.75 หาจาก (98.96+102.00+72.63+97.42)/4 Composite Index ของมิติที่ 2 มีค่าเท่ากับ 120.10 หาจาก (9.30+120.64+228.61+94.57+147.37)/5 Composite Index ของมิติที่ 3 มีค่าเท่ากับ 149.85 หาจาก (101.65+101.65+348.75+101.46+95.73)/5 Composite Index ของมิติที่ 4 มีค่าเท่ากับ 94.21 หาจาก (111.01+90.59+69.09+71.43+95.32+99.10+95.63+121.47)/8 Composite Index ของภาคอุตสาหกรรมระดับภาพรวม มีค่าเท่ากับ 114.23 หาจาก 0.25(92.75)+0.25(120.10)+0.25(149.85)+0.25(94.21)

การสรุปข้อมูลดัชนีรวม รายสาขาอุตสาหกรรม มิติของการพัฒนาในระดับภาพรวม ค่าดัชนีรวม 2550 2551 2552 มิติที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 100 93.82 92.75 มิติที่ 2 ความสามารถในการแข่งขันและการปรับตัว 89.67 120.10 มิติที่ 3 ด้านเสถียรภาพ 119.26 149.85 มิติที่ 4 ด้านความยั่งยืน 103.98 94.21 การพัฒนาในภาพรวมของภาคอุตสาหกรรม 101.68 114.23

การสร้างดัชนีเพื่อการวัดการพัฒนา รายสาขาอุตสาหกรรม การสร้างดัชนีย่อยให้กับรายสาขาอุตสาหกรรม เพื่อการจัดทำ ดัชนีรวม (Composite Index) โดยวิธีการสร้างดัชนีย่อย ทำ ในลักษณะเดียวกันกับของอุตสาหกรรมในภาพรวม และใน กรณีที่ดัชนีย่อยตัวใดมีปัญหาในการเก็บข้อมูลจะไม่นำมาใช้ โดยมีการถ่วงน้ำหนักที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างเป็นสัดส่วน

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 100.29 100.92 2. ผลิตภาพแรงงาน 102.53 100.27 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 99.32 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 99.76 99.73 5. การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO 109.43 119.81 6. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 105.59 108.53 7. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 100.13 100.31 8. การใช้วัตถุดิบภายในประเทศ 82.01 91.30 9. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 110.57 104.19 10. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 85.22 101.51 11. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 100.90 105.84 12. การขยายตัวของการจ้างงาน 95.66 91.93

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (100.29+102.53+100+99.76+109.43+105.59+ 100.13+82.01+110.57+85.22+100.90+95.66)/12 99.34 2552 (100.92+100.27+99.32+99.73+119.81+108.53+ 100.31+91.30+104.19+101.51+105.84+91.93)/12 101.97

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 99.88 100.32 2. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 99.59 99.57 3. การขยายตัวของการยื่นขอสิทธิบัตร 95.15 119.03 4. การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO 103.92 110.78 5. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 96.35 87.92 6. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 99.31 99.3 7. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 128.87 178.65 8. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 110.57 104.19 9. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 107.33 116.83 10. อัตราส่วนการลงทุนโดยตรงในประเทศ/ต่างประเทศ 131.65 341.77 11. การขยายตัวของการจ้างงาน 96.42 87.99

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (99.88+99.59+95.15+103.92+96.35+99.31+ 128.87+110.57+ 107.33+131.65+96.42)/11 103.00 2552 (100.32+99.57+119.03+110.78+87.92+99.3+ 178.65+104.19+ 116.83+341.77+87.99)/11 131.48

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 95.69 95.64 2. ผลิตภาพแรงงาน 103.32 94.66 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 99.78 99.63 4. ความเข้มข้นในการใช้พลังงาน 99.64 96.36 5. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 98.78 98.85 6. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 116.78 111.44 7. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 99.81 101.01 8. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 115.68 96.62 9. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 110.57 10. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 77.09 96.17 11. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 95.74 90.72 12. การขยายตัวของการจ้างงาน 98.76 104.24

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (95.69+103.32+99.78+99.64+98.78+116.78+ 99.81+115.68+100+77.09+95.74+98.76)/12 100.09 2552 (95.64+94.66+99.63+96.36+98.85+111.44+ 101.01+96.62+110.57+96.17+90.72+104.24)/12 99.66

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 99.80 100.04 2. ผลิตภาพแรงงาน 121.27 92.18 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 99.65 99.40 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 100.42 99.97 5. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 107.69 92.49 6. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 100.31 7. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 138.78 103.76 8. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 110.09 105.48 9. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 103.06 103.21 10. การขยายตัวของการจ้างงาน 96.08 95.06

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (99.80+121.27+99.65+100.42+107.69+100.04+138.78+110.09+103.06+96.08)/10 107.69 2552 (100.04+92.18+99.40+99.97+92.49+100.31+ 103.76+105.48+103.21+95.06)/10 99.19

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็ก พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 103.61 103.06 2. ผลิตภาพแรงงาน 113.97 101.18 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 101.02 99.50 4. ความเข้มข้นในการใช้พลังงาน 86.63 5. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 99.70 99.77 6. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 116.61 87.67 7. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 100.26 100.89 8. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 232.60 252.29 9. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 110.57 104.19 10. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 55.67 93.54 11. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 95.51 62.34 12. การขยายตัวของการจ้างงาน 84.48 85.99

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็ก พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (103.61+113.97+101.02+100+99.70+116.61+ 100.26+232.60+110.57+55.67+95.51+84.48)/12 109.50 2552 (103.06+101.18+99.50+86.63+99.77+87.67+ 100.89+252.29+104.19+93.54+62.34+85.99)/12 106.42

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 56.70 n/a 2. ผลิตภาพแรงงาน 86.69 81.52 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 98.02 97.06 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 100.06 100.05 5. การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO 105.41 134.23 6. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 119.51 101.62 7. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 99.65 99.62 8. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 87.94 63.92 9. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 103.95 97.50 10. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 87.39 91.85 11. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 99.80 96.04 12. การขยายตัวของการจ้างงาน 114.88 123.37

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (56.70+86.69+98.02+100.06+105.41+119.51+ 99.65+87.94+103.95+87.39+99.80+114.88)/12 96.67 2552 (81.52+97.06+100.05+134.23+101.62+99.62+ 63.92+97.50+91.85+ 96.04+123.37)/11 98.80

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติก พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 102.93 102.92 2. ผลิตภาพแรงงาน 101.20 104.88 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 99.99 99.49 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 99.25 99.30 5. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 110.64 94.12 6. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 100.31 101.4 7. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 118.24 90.37 8. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 93.46 104.68 9. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 92.05 86.37 10. การขยายตัวของการจ้างงาน 100.61 89.83

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติก พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (102.93+101.20+99.99+99.25+110.64+100.31+118.24+93.46+92.05+100.61)/10 101.87 2552 (102.92+104.88+99.49+99.30+94.12+101.4+ 90.37+104.68+86.37+89.83)/10 97.34

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 100.73 99.32 2. ผลิตภาพแรงงาน 83.63 91.92 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 100.30 99.12 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 99.46 99.68 5. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 235.95 126.24 6. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 100.3 100.37 7. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อ ต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 175.43 116.68 8. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 36.33 51.05 9. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 83.02 49.02 10. การขยายตัวของการจ้างงาน 128.88 118.43

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (100.73+83.63+100.30+99.46+235.95+100.3+ 175.43+36.33+83.02+128.88)/10 114.40 2552 (99.32+91.92+99.12+99.68+126.24+100.37+ 116.68+51.05+49.02+118.43)/10 95.18

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 97.89 97.71 2. ผลิตภาพแรงงาน 140.11 108.90 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 100.98 99.87 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 5. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 126.62 88.97 6. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 100.85 99.84 7. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อ ต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 93.97 75.18 8. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวล รวมของ SMEs 110.57 104.19 9. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 98.98 99.18 10. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 113.94 106.58 11. การขยายตัวของการจ้างงาน 70.28 77.68

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (97.89+140.11+100.98+100+126.62+100.85+ 93.97+110.57+ 98.98+113.94+70.28)/11 104.93 2552 (97.71+108.90+99.87+100+88.97+99.84+75.18+104.19+99.18+106.58+77.68)/11 96.19

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 100.31 100.46 2. ผลิตภาพแรงงาน 111.05 114.32 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 100.07 99.33 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 100.08 100.09 5. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 99.47 115.84 6. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 100.02 100.75 7. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อ ต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 162.18 114.84 8. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 95.36 99.11 9. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 100.97 118.80 10. การขยายตัวของการจ้างงาน 84.72 74.30

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (100.31+111.05+100.07+100.08+99.47+100.02+162.18+95.36+100.97+84.72)/10 105.42 2552 (100.46+114.32+99.33+100.09+115.84+100.75+114.84+99.11+118.80+74.30)/10 103.78

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 62.01 n/a 2. ผลิตภาพแรงงาน 107.94 103.13 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 101.92 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 101.1 5. การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO 6. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 107.46 109.21 7. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 96.82 8. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 75.44 9. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 103.95 97.50 10. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 121.28 107.96 11. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 111.58 82.88 12. การขยายตัวของการจ้างงาน 101.59 116.47

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (62.01+107.94+101.92+101.1+100+107.46+ 96.82+75.44+103.95+121.28+111.58+101.59)/12 99.26 2552 (103.13+100+109.21+97.50+107.96+82.88+ 116.47)/7 102.45

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 100.70 2. ผลิตภาพแรงงาน 98.73 112.58 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 99.99 100.14 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 99.93 99.97 5. การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO 6. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 104.90 132.87 7. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 8. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 91.84 96.18 9. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 103.95 97.50 10. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 95.28 99.35 11. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 73.88 59.98 12. การขยายตัวของการจ้างงาน 100.61 89.83

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (100+98.73+99.99+99.93+100+104.90+99.97+91.84+103.95+95.28+73.88+100.61)/12 97.42 2552 (100.70+112.58+100.14+99.97+100+132.87+ 99.93+97.50+99.35+59.98+89.83)/12 99.09

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งพิมพ์ พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 103.72 110.64 2. ผลิตภาพแรงงาน 128.18 117.21 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 100.02 100.11 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 99.94 5. การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO 106.31 117.12 6. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 138.18 113.29 7. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 99.80 100.15 8. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 104.81 109.69 9. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 103.95 97.50 10. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 104.64 72.83 11. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 61.34 43.91 12. การขยายตัวของการจ้างงาน 74.31 79.74

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งพิมพ์ พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (103.72+128.18+100.02+99.94+106.31+138.18+99.80+104.81+03.95+104.64+61.34+74.31)/12 102.10 2552 (110.64+117.21+100.11+99.94+117.12+113.29+100.15+109.69+97.50+72.83+43.91+79.74)/12 96.84

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 123.23 188.39 2. ผลิตภาพแรงงาน 111.74 93.29 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 99.86 99.64 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 99.97 100.01 5. การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO 160.61 237.88 6. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 72.76 60.69 7. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 99.85 100.65 8. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 87.12 108.72 9. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 103.95 97.50 10. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 116.74 100.72 11. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 82.88 74.88 12. การขยายตัวของการจ้างงาน 100.76 109.11

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (123.23+111.74+99.86+99.97+160.61+72.76+ 99.85+87.12+103.95+116.74+82.88+100.76)/12 104.96 2552 (188.39+93.29+100.01+237.88+60.69+100.65+108.72+97.50+100.72+74.88+109.11)/12 114.29

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมอู่ต่อเรือและซ่อมเรือ พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 n/a 2. ผลิตภาพแรงงาน 566.27 324.58 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 5. การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO 6. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 190.21 113.72 7. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 8. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 9. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 103.95 97.50 10. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 109.1 140.89 11. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 123.59 119.22 12. การขยายตัวของการจ้างงาน 54.52 86.68

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมอู่ต่อเรือและซ่อมเรือ พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (566.27+100+190.21+100+103.95+109.1+ 123.59+54.52)/8 168.46 2552 (324.58+100+113.72+100+97.50+140.89+ 119.22+86.68)/8 135.32

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมยาและผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 82.11 172.45 2. ผลิตภาพแรงงาน 96.88 96.01 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 99.91 99.44 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 100.71 101.01 5. การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO 6. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 114.42 119.39 7. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 99.82 99.75 8. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 121.90 119.09 9. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 103.95 97.50 10. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 94.39 95.65 11. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 121.14 120.06 12. การขยายตัวของการจ้างงาน 109.09 113.87

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมยาและผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (82.11+96.88+99.91+100.71+100+114.42+99.82+121.90+103.95+94.39+121.14+109.09)/12 103.69 2552 (172.45+96.01+99.44+101.01+100+119.39+99.75+119.09+97.50+95.65+120.06+113.87 111.19

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิก พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 151.96 153.92 2. ผลิตภาพแรงงาน 96.88 96.01 3. ผลิตภาพวัตถุดิบ 99.22 99.21 4. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 100.04 100.05 5. การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO 100.99 116.83 6. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 122.73 125.35 7. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 101.84 100.91 8. สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 143.57 120.95 9. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 103.95 97.50 10. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 135.75 103.20 11. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 136.29 134.40 12. การขยายตัวของการจ้างงาน 98.21 77.08

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิก พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (151.96+96.88+99.22+100.04+100.99+122.73+ 101.84+143.57+103.95+135.75+136.29+98.21)/12 115.95 2552 (153.92+96.01+99.21+100.05+116.83+125.35+ 100.91+120.95+97.50+103.20+134.40+77.08)/12 110.45

ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน ค่าดัชนีย่อยแสดงภาพรวมของการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน 2550 2551 2552 1. ผลิตภาพการผลิตโดยรวม 100 86.16 81.52 2. ผลิตภาพแรงงาน 148.93 128.83 3. การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ISO 101.96 4. ความเข้มข้นในการใช้พลังงาน 108.7 117.39 5. ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ 116.96 6. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ 99.99 99.96 7. การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SMEs 100.63 8. ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 116.51 113.07 9. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก 111.63 124.86 10. การขยายตัวของการจ้างงาน 67.57 78.44

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ พ.ศ. 2550-2552 ปี วิธีคำนวณ ดัชนีรวม 2550 - 100 2551 (86.16+148.93+100+108.7+116.96+99.99+100+116.51+111.63+67.57)/10 105.65 2552 (81.52+128.83+101.96+117.39+116.96+99.96+100.63+113.07+124.86+78.44)/10 106.36

ดัชนีรวมวัดการพัฒนารายสาขาอุตสาหกรรม สรุปดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา พ.ศ. 2550-2552 ใช้ปี 2550 เป็นปีฐาน ดัชนีรวมวัดการพัฒนารายสาขาอุตสาหกรรม 2550 2551 2552 อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 100 99.34 101.97 อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 106.50 132.37 อุตสาหกรรมอาหาร 100.09 99.66 อุตสาหกรรมยานยนต์ 107.69 99.19 อุตสาหกรรมเหล็ก 109.50 106.42 อุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง 96.67 98.80 อุตสาหกรรมพลาสติก 101.87 97.34 อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ 114.40 95.18 อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ 104.93 96.19 อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง 105.42 103.78 อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ 99.26 102.45 อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ 97.42 99.09 อุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งพิมพ์ 102.10 96.84 อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล 104.96 114.29 อุตสาหกรรมอู่ต่อเรือและซ่อมเรือ 178.23 140.37 อุตสาหกรรมยาและผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ 103.69 111.19 อุตสาหกรรมเซรามิก 115.95 110.45 อุตสาหกรรมเหมืองแร่ 105.65 106.36

การนำดัชนีรวมมาอธิบายผล ดัชนีรวมวัดการพัฒนาในภาพรวมของภาคอุตสาหกรรมและจำแนกรายมิติ

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมในภาพรวม

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ในมิติการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ในมิติด้านความสามารถในการแข่งขันและการปรับตัว

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ในมิติด้านเสถียรภาพ

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ในมิติด้านความยั่งยืน

ตัวอย่างดัชนีรวมวัดการพัฒนารายอุตสาหรกรม อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาในภาพรวมของอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเหล็ก และอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาในภาพรวมของอุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ และอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์

ดัชนีรวมวัดการพัฒนาในภาพรวมของอุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งพิมพ์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล อุตสาหกรรมอู่ต่อเรือและซ่อมเรือ อุตสาหกรรมยาและผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ อุตสาหกรรมเซรามิก และอุตสาหกรรมเหมืองแร่