ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าที่ความรับผิดชอบ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 1 เรื่อง การฝากขาย Chollada Advance I : Consign.
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน(บบส
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
การบัญชีวิสาหกิจชุมชน
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
Statement of Cash Flows
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
แนวคิดการตลาดและการกำหนด กลยุทธ์การตลาด
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
บทที่ 4 งบการเงิน.
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
ตัวอย่างสรุปข้อมูลผลงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น
บทบาทของประธานกลุ่ม ประธานกลุ่มของสหกรณ์ นับเป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสหกรณ์ เพราะเป็นผู้อยู่ใกล้ชิดกับสมาชิกในกลุ่ม เป็นผู้รู้ปัญหาและความต้องการของสมาชิกได้เป็นอย่างดี
การตรวจสอบธุรกิจสินเชื่อ
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
กลุ่ม 2 ข้อ 4. ปัญหา สาเหตุ แนวทางป้องกัน แนวทางแก้ไข
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
สหกรณ์การเกษตรชุมพวง จำกัด
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
สินค้าคงเหลือ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
แนวทางการมีส่วนร่วมของกรมฯ การปฏิบัติของจังหวัด
การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2553
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
1 โดย... ผู้ช่วยเลขาธิการสายพัฒนาและ วิเคราะห์ระบบการตรวจสอบ ( นายอำนาจ วงศ์พินิจวโรดม ) แนวทางการตรวจสอบ แบบใหม่
ระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
หลักการเขียนโครงการ.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
"การบริหารจัดการ ธุรกิจสินเชื่อสหกรณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหารงาน ประเภทสหกรณ์บริการ คณะทำงาน 1. นางอรุณี เมืองกาญจน์ ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางรุจิรา ขำพล ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา การบริหารสินเชื่อ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา

ประเภทสินเชื่อ สินเชื่อเพื่อธุรกิจ สินเชื่อเพื่อการบริโภค สินเชื่อเพื่อการเกษตร

กระบวนการบริหารสินเชื่อ 1. กำหนดประเภทสินเชื่อ 2. การหาลูกค้า/การแจ้งข่าวสาร 3. การวิเคราะห์สินเชื่อ 4. การให้สินเชื่อ 5. การดูแลผู้รับสินเชื่อ 6. การเรียกเก็บหนี้ 7. การตรวจสอบและควบคุมดูแลสินเชื่อ

ปัจจัยที่กำหนดนโยบายสินเชื่อ 1. กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติที่ประชุม 2. สถานภาพด้านเงินทุน 3. ความเสี่ยงภัย และกำไรที่ยอมรับได้ 4. จำนวนเงินฝาก ทุนเรือนหุ้น รายได้ 5. ความรู้ความสามารถของบุคลากร

รายละเอียดของนโยบายสินเชื่อ 1. อำนาจการอนุมัติ และวงเงินอนุมัติ 2. พิธีการสินเชื่อ 3. วงเงินสินเชื่อ 4. ประเภทของสินเชื่อที่ควรให้และไม่ควรให้ 5. อัตราดอกเบี้ย 6. หลักประกัน 7. ระบบงานการให้สินเชื่อ 8. การติดตามและเรียกเก็บหนี้ 9. แนวทางการแก้ปัญหาลูกหนี้อ่อนแอและมีปัญหา

วิธีการวิเคราะห์สินเชื่อ * การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ * การวิเคราะห์เชิงปริมาณ

การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ 1. Charactor - ลักษณะ(คุณภาพ)ของผู้ขอสินเชื่อ 2. Capacity - ความสามารถในการชำระหนี้ 3. Capital - เงินทุน 4. Collateral - หลักประกัน 5. Condition - สภานการณ์ต่างๆ

ลักษณะของผู้ขอสินเชื่อ - ความรับผิดชอบ - ความมั่นคง - ความซื่อสัตย์สุจริต - ความตรงต่อเวลา - ความเสมอต้นเสมอปลาย

ความสามารถในการชำระหนี้ * รายได้ * ความสามารถในการหารายได้ * หนี้สิน * รูปแบบการใช้จ่าย

เงินทุน * ทรัพย์สิน * หนี้สิน * ทุน

หลักประกัน * อสังหาริมทรัพย์ * หุ้น เงินฝาก * บุคคล / กลุ่มบุคคล

สถานการณ์ต่างๆ * สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ * สถานการณ์ทางสังคม

การวิเคราะห์สินเชื่อเชิงปริมาณ - การวิเคราะห์งบดุล - การวิเคราะห์งบกำไรขาดทุน - การวิเคราะห์ข้อมูลอื่นๆ ประกอบ - งบการเงิน

แหล่งข้อมูลสินเชื่อ ข้อมูลสินเชื่อสามารถจัดหาได้จากแหล่งต่างๆ ดังนี้ 1.1บันทึกหรือรายงานรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ขอสินเชื่อ ซึ่งได้มาจากการสัมภาษณ์ การตรวจสอบ และการสังเกตการณ์ 1.2 งบการเงินของผู้ขอสินเชื่อ 1.3 รายงานจากสถาบันหรือองค์กรต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับสินเชื่อ 1.4 ข่าวสารอื่นๆ ที่รวบรวมได้ 2. ลักษณะสำคัญของข้อมูลสินเชื่อ 2.1 มีความเป็นส่วนตัว ไม่เปิดเผย 2.2 มีความสมบูรณ์ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ 2.3 มีความเป็นปัจจุบัน 2.4 จัดหาได้รวดเร็วทันกับความต้องการ 2.5 แสดงความเกี่ยวเนื่องทางธุรกิจ 2.6 เสียค่าใช้จ่ายในการจัดหาข้อมูลน้อย

การกำหนดวงเงินสินเชื่อ 1. ขนาดธุรกิจของสหกรณ์ 2. การกระจายความเสี่ยงภัย 3. ประเภทธุรกิจของผู้ขอสินเชื่อ 4. ระยะเวลาของสินเชื่อ 5. สภาวะทางธุรกิจ 6. วัตถุประสงค์ของการให้สินเชื่อ 7. ความสามารถในการบริหารของผู้ขอสินเชื่อ 8. คู่แข่งขัน และระดับการแข่งขัน 9. ยอดสินเชื่อรวม

หลักการเรียกเก็บหนี้ - เก็บได้ทันทีที่ถึงกำหนดชำระ - มีการติดตามอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง - ใช้วิธีการเรียกเก็บหนี้ที่ยืดหยุ่น - ใช้วิธีการเรียกเก็บหนี้ที่ง่ายต่อการปฏิบัติ - มีระบบการตรวจสอบและติดตามหนี้

หลักการสำคัญในการให้สินเชื่อ 1. คุณภาพสำคัญมากกว่าปริมาณสินเชื่อ 2. การวิเคราะห์สินเชื่อให้พิจารณาทั้งด้านความสำเร็จและความล้มเหลวของผู้ขอสินเชื่อ 3. อย่าให้สินเชื่อ ถ้ายังไม่แน่ใจในความซื่อตรงและตั้งใจจริงของผู้ขอสินเชื่อ 4. อย่าให้สินเชื่อถ้ายังไม่เข้าใจธุรกิจของผู้ขอสินเชื่อ 5. ให้มีการจัดทำแผนการชำระหนี้ด้วย

หลักการสำคัญในการให้สินเชื่อ(ต่อ) 6. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้ขอสินเชื่อให้ได้มากที่สุด 7. หลักประกันไม่สามารถใช้ทดแทนความตั้งใจชำระหนี้ได้ 8. ให้ความสำคัญกับรายละเอียดในเงื่อนไขต่างๆ 9. ให้แน่ใจว่าผู้ค้ำประกันรู้รายละเอียดครบถ้วนแล้ว 10. เตือนตนเองอยู่เสมอว่าการให้สินเชื่อเป็นไปตาม หลักการที่ถูกต้อง