งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการเงินทุนหมุนเวียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการเงินทุนหมุนเวียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
การจัดการเงินสด การจัดการลูกหนี้ การจัดการสินค้าคงคลัง ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

2 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
คำจำกัดความ เงินทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ = สินทรัพย์หมุนเวียน – หนี้สินหมุนเวียน นโยบายเงินทุนหมุนเวียน ได้แก่ การพิจารณาระดับของสินทรัพย์หมุนเวียนแต่ละประเภท การจัดหาเงินทุนสำหรับสินทรัพย์หมุนเวียน การจัดการเงินทุนหมุนเวียน คือการกำหนดนโยบายเงินทุนหมุนเวียนและการควบคุมเงินสด ลูกหนี้ สินค้าคงคลัง และหนี้สินระยะสั้น ในแต่ละวัน ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

3 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินสด ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

4 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
วงจรเงินสด วงจรเงินสดจะเริ่มจากวันที่จ่ายค่าวัตถุดิบ ค่าแรงงาน ในการผลิตจนกระทั่งได้รับเงินจากการขายสินค้า: ระยะเวลาที่ ระยะเวลาที่ ระยะเวลาที่ วงจรเงินสด = ผลิตจน ขายจน สามารถเลื่อน ทั้งสิ้น กระทั่งขาย กระทั่งเก็บ การชำระหนี้ ขายสินค้า เงินได้ ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

5 วัตถุประสงค์ในการถือเงินสด
เพื่อการทำธุรกรรม เช่น จ่ายค่าน้ำ ค่าไฟ เพื่อกันเงินสดขาดมือ (ขึ้นอยู่กับ credit line และหลักทรัพย์ระยะสั้นที่มีอยู่ด้วย) เพื่อการเก็งกำไร เป้าหมายในการจัดการเงินสด: เพื่อให้มีเงินสดเพียงพอแก่การใช้จ่ายดังกล่าวข้างต้น แต่ไม่ควรมีเงินสดมากเกินไป ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

6 งบกระแสเงินสด: เครื่องมือเบื้องต้นในการบริหารเงินสด
วัตถุประสงค์: ใช้ในการประมาณการกระแสเงินสดรับ-จ่าย และยอดเงินสดคงเหลือปลายงวด เพื่อการพยากรณ์เงินที่ต้องกู้ยืม และเงินทุนที่มีอยู่ซึ่งสามารถใช้ในการลงทุนชั่วคราว ระยะเวลา: เป็นวัน เป็นสัปดาห์ หรือเป็นเดือน ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของงบประมาณ งบรายเดือนใช้สำหรับการวางแผนรายปี งบรายวันใช้สำหรับการบริหารเงินสด ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

7 ข้อมูลที่ใช้ในการทำงบประมาณเงินสด
1. ประมาณการยอดขาย 2. ข้อมูลในการเก็บชำระหนี้ล่าช้า 3. ประมาณการยอดซื้อและเงื่อนไขการชำระหนี้ 4. ประมาณการค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินสด ได้แก่ ค่าจ้าง เงินเดือน ภาษี ค่าสาธารณูปโภค และอื่นๆ 5. เงินสดต้นงวด 6. ยอดเงินสดในมือที่ต้องการถือ ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

8 ค่าเสื่อมราคาและงบประมาณเงินสด
ค่าเสื่อมราคาเป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชีที่ไม่ได้มีการจ่ายเป็นเงินสด ในงบประมาณจะคิดเฉพาะรายรับและรายจ่ายที่เป็นตัวเงินเท่านั้น จึงไม่รวมค่าเสื่อมราคา อย่างไรก็ดี ค่าเสื่อมราคามีผลกระทบกับภาษี ซึ่งภาษีจะปรากฎอยู่ในงบกระแสเงินสด จึงถือว่าค่าเสื่อมราคามีผลกระทบทางอ้อมต่อกระแสเงินสด ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

9 รายการที่เกี่ยวกับกระแสเงินสดรับ
เงินได้จากการขายสินทรัพย์ถาวร เงินได้จากการขายหุ้นสามัญและหุ้นกู้ ดอกเบี้ยรับ ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

10 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การบริหารลูกหนี้ ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

11 ส่วนประกอบของนโยบายสินเชื่อ
ส่วนลดเงินสด: ทำให้ราคาต่ำลง ดึงดูดลูกค้าใหม่ๆ และลดระยะเวลาเก็บหนี้ ระยะเวลาการให้สินเชื่อ: ควรจะให้เครดิตนานเท่าใด? ระยะเวลาสั้นจะลดระยะเวลาเก็บหนี้ และลูกหนี้เฉลี่ย แต่อาจจะทำให้ยอดขายลดลง ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

12 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
มาตรฐานในการให้สินเชื่อ: การเข้มงวดในการพิจารณาสินเชื่อช่วยลดการขาดทุนจากหนี้เสีย แต่อาจทำให้ยอดขายลดลง นโยบายในการเก็บหนี้: นโยบายที่เข้มงวดจะช่วยลดระยะเวลาการเก็บหนี้ แต่อาจจะทำให้ความสัมพันธ์กับลูกค้าแย่ลง ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


ดาวน์โหลด ppt การจัดการเงินทุนหมุนเวียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google