งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
หลักการเงิน ( ) บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน

2 การบริหารการเงิน การจัดหาเงินทุน การใช้เงินทุนไปในสินทรัพย์ต่างๆ

3 เป้าหมายในการประกอบธุรกิจ
สร้างความมั่งคั่งสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น ทำให้มูลค่าของธุรกิจสูงสุด ทำให้ราคาตลาดของหุ้นสามัญสูงสุด การลงทุน กำไรต่อทุน ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 รวม ก. 1.50 1.60 4.60 ข. 1.65 1.70 1.15 4.50

4 หน้าที่งานการเงิน เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจหลักๆ 2 เรื่อง
การตัดสินใจลงทุน (investment decision) การตัดสินใจจัดหาเงินทุน (financing decision) ประกอบด้วยหน้าที่หลัก 3 ประการ หน้าที่วางแผนทางการเงิน หน้าที่บริหารสินทรัพย์หรือจัดสรรเงินทุน หน้าที่จัดหาเงินทุน

5 หน้าที่วางแผนทางการเงิน
การวิเคราะห์ทางการเงิน การวางแผนกำไร การพยากรณ์การเงิน การจัดทำงบการเงิน และงบกระแสเงินสด

6 หน้าที่บริหารสินทรัพย์หรือจัดสรรเงินทุน
การพิจารณาการลงทุน การพิจารณาลงทุนภายใต้ความไม่แน่นอน การบริหารทุนหมุนเวียน การบริหารเงินสดและหลักทรัพย์ การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าคงเหลือ

7 หน้าที่จัดหาเงินทุน ตลาดการเงิน แหล่งเงินทุนระยะสั้น
แหล่งเงินทุนระยะยาว นโยบาลเงินปันผล โครงสร้างเงินทุนแล้วต้นทุนเงินลงทุน

8 หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
ความสัมพันธ์ของเป้าหมายในการประกอบธุรกิจ, เป้าหมายทางการเงิน, และหน้าที่บริหารงานการเงิน เป้าหมายทางการเงิน ผลตอบแทนสูง ความเสี่ยงต่ำ สภาพคล่องดี หน้าที่บริหารงานการเงิน 1.วางแผนและประเมินผลทางการเงิน 2. การจัดการสินทรัพย์ 3. การจัดหาเงินทุน เป้าหมายของธุรกิจ มูลค่าธุรกิจสูงสุด สินทรัพย์ ผลตอบแทนจาก การดำเนินงาน การจัดการสินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ถาวร การตัดสินใจเงินทุน มูลค่าธุรกิจ ต้นทุนเงินทุน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ การจัดหาเงิน สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ถาวร การตัดสินใจจัดหาเงินทุน งบดุล

9 บทที่ 2 ตลาดการเงิน (financial markets)
หลักการเงิน ( ) บทที่ 2 ตลาดการเงิน (financial markets)

10 บทบาทของตลาดการเงิน ทำให้ผู้มีเงินออมได้รับผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ยรับ เงินปันผล และในรูปแบบอื่นๆ ทำให้ผู้ต้องการเงิน (ผู้ลงทุน) มีเงินลงทุนสำหรับใช้ในโคงการต่างๆ ทำให้เกิดความเจริญทางเศรษฐกิจ ทำให้มาตรฐานการครองชีพของประชาชนสูงขึ้น

11 ส่วนประกอบของตลาดการเงิน
ผู้มีเงินออม ผู้ต้องการลงทุน สินทรัพย์ทางการเงิน สถาบันในตลาดการเงิน

12 สินทรัพย์ทางการเงิน สินทรัพย์ทางการเงินที่ออกโดยภาคเอกชน
ตั๋วแลกเงิน (bill of exchange) ตั๋วสัญญาใช้เงิน (promissory note) เช็ค หุ้นสามัญ, หุ้นกู้ สินทรัพย์ทางการเงินที่ออกโดยรัฐบาล พันธบัตรรัฐบาล ตั๋วเงินคลัง

13 สถาบันในตลาดการเงิน สถาบันที่ทำหน้าที่เป็นคนกลางหรือนายหน้า
สถาบันที่ทำหน้าที่เป็นผู้ค้าสินทรัพย์ทางการเงิน สถาบันที่ทำหน้าที่ประกันขาย สถาบันที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการให้บริการด้านการซื้อขายสินทรัพย์ทางดารเงิน สถาบันที่ทำหน้าที่ออกกฎหมาย ระเบียบ ตลอดจนกำกับดูแลให้สถาบันกลุ่มอื่นๆ ในตลาดการเงินถือปฏิบัติ

14 ประเภทของตลาดการเงิน
ตลาดการเงินในระบบ ตลาดเงิน (money market) ตลาดปริวรรตเงินตรา (capital market) ตลาดทุน (capital market) ตลาดแรก ตลาดรอง ตลาดตราสารทุน ตลาดตราสารหนี้ ตลาดตราสารทุน ตลาดตราสารหนี้

15 อัตราดอกเบี้ย เงินทุนที่มีการกู้ยืมได้ (loanable funds)
อุปสงค์ (demand) vs. อุปทาน (supply) อัตราเงินเฟ้อ (inflation) Fisher equation: k = k* + I k - อัตราดอกเบี้ยที่ควรเป็น k* - อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง I - อัตราเงินเฟ้อที่คาดว่าจะเกิดขึ้น

16 อัตราดอกเบี้ยสำหรับสินทรัพย์ทางการเงิน
k = k* + I + DRP + LP +MRR k - อัตราดอกเบี้ยที่ระบุ k* - อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง I อัตราเงินเฟ้อ DRP - ค่าชดเชยความเสี่ยงที่ไม่สามารถชำระหนี้ได้ LP - ค่าชดเชยความเสี่ยงในความคล่องตัว MRP - ความเสี่ยงที่เกิดจากระยะเวลาการได้รับเงินคืน


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google