งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน สำนักงบประมาณ

2      ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักในการบริหารโครงการภาครัฐ สศช. สงป.
คณะกรรมการ สศช. สงป. กพร. จังหวัด หน่วยงานประจำ จังหวัด หน่วยงาน ผู้ริเริ่มโครงการ ชุมชน นโยบาย ภาคเอกชน กลุ่มเป้าหมาย ผู้ใช้ผลผลิต โครงการ ผู้ได้รับประโยชน์อื่นๆ จากโครงการ ผู้วิเคราะห์ / พิจารณา โครงการ โครงการ ผู้ได้รับประโยชน์อื่นๆ จากโครงการ ผู้เสียประโยชน์ จากโครงการ ผู้ได้รับผลกระทบ โครงการ ผู้ตรวจสอบ ประเมินผล ผู้เสียประโยชน์ จากโครงการ ผู้ตรวจราชการ ผู้ดำเนิน โครงการ สตง. กธจ. ผู้รับจ้าง / ผู้รับเหมา จังหวัด ส่วนราชการ / หน่วยงาน อปท.และชุมชน คตป.

3 ขั้นตอนหลักในการวางแผนโครงการ
ทบทวน ริเริ่ม วางแผน วิเคราะห์ สงป. กนพ. รธน. / นโยบายรัฐบาล / แผนบริหารราชการแผ่นดิน / แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ เห็นชอบ ให้ความ เห็นชอบ ให้ความเห็น ชอบคำขอ รธน. / นโยบายรัฐบาล / แผนบริหารราชการแผ่นดิน / แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ กพจ. แผนพัฒนา / แผนปฏิบัติงาน จัดทำคำขอ งบประมาณ เห็นชอบ หน่วยงานริเริ่ม โครงการ ที่มา / ความต้องการ ขอบเขต ศึกษาความเป็น ไปได้และลักษณะ การดำเนินโครงการ จัดทำ คำขอ งปม. Budget Decision เริ่มโครงการ ความต้องการ โครงการใหม่ จัดทำ รายละเอียด โครงการ ตรวจสอบประเมินผล การดำเนินโครงการ (ถ้ามี)/โครงการ ที่คล้ายคลึงกัน ริเริ่มเบื้องต้น ยืนยัน ความต้องการ กลุ่มเป้าหมายและ ผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้น ความต้องการผู้ใช้ ประโยชน์โครงการ กลุ่มเป้าหมาย ผู้มีส่วนได้เสีย ความต้องการผู้ใช้ ประโยชน์โครงการ ระบุ / ตรวจสอบ ความต้องการกลุ่ม เป้าหมายและผล กระทบที่อาจเกิดขึ้น ใช้ประโยชน์ผลผลิต โครงการเติม ผลกระทบที่เกิดกับ ผู้มีส่วนได้เสีย ผลกระทบที่เกิดกับ ผู้มีส่วนได้เสีย สำนักงานจังหวัด ตรวจสอบ / ประเมินผลการ ดำเนินงานโครงการ พิจารณาการใช้ งบประมาณเบื้องต้น สำหรับความเป็นไปได้ ในการริเริ่มโครงการ วิเคราะห์รายละเอียด ในมิติต่างๆ วิเคราะห์ความ เหมาะสม การจัดสรร งบประมาณ ผู้ดำเนินการ / ผู้รับจ้าง ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข สำนักงบประมาณ

4 ขั้นตอนหลักในการวางแผนโครงการ
ดำเนินโครงการ ใช้ประโยชน์โครงการ กนพ. ทำสัญญาบริหารโครงการ เห็นชอบแผน รายงานผล กพจ. ผู้ว่าการ ผลผลิต หน่วยงาน (ฝ่าย / สำนัก) สำนักงานจังหวัด จัดทำแผนการ ปฏิบัติการและ แผนงบประมาณ ดำเนินตาม แผนปฏิบัติการและ แผนงบประมาณ โครงการ เสร็จตามแผน ? บริหารจัดการ เริ่มโครงการ สิ้นสุด โครงการ ความสอดคล้อง ของทั้ง 2 แผน ผลลัพธ์ กลุ่มเป้าหมาย ผู้มีส่วนได้เสีย ดูแลผู้มีส่วนได้เสีย ที่ได้รับผลกระทบ ผลกระทบ / การเปลี่ยนแปลง กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ ผลผลิตโครงการ ดูแลผู้มีส่วนได้เสีย ที่ได้รับผลกระทบ กลุ่มยุทธศาสตร์ อนุมัติแผน ติดตามความคืบหน้า ตามแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ ติดตาม/ประเมินผล ผลผลิต การใช้งาน ผลลัพธ์ และผลกระทบ ผู้ดำเนินการ / ผู้รับจ้าง ดำเนินการ รับประกัน/ดูแลรักษา สนับสนุนการบำรุงรักษา (ถ้ามี)

5 การจัดการงบประมาณ (การวางแผนโครงการ)
ทบทวน / ตรวจสอบ / ประเมินผล การดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ทบทวน / ตรวจสอบสถานภาพโครงการ ทบทวน / ตรวจสอบผลผลิต / ผลลัพธ์ / ผลกระทบที่เกิดขึ้น พิจารณาที่มาของโครงการ กลุ่มเป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิเคราะห์ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ และความเหมาะสมเชิงเศรษฐกิจและสังคม พิจารณาศักยภาพและความพร้อมของโครงการ ริเริ่มโครงการใหม่ และการวิเคราะห์เบื้องต้น พิจารณาขอบเขตของโครงการ วิเคราะห์ผลผลิต / ผลลัพธ์และหรือผลกระทบ วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต และทรัพยากรที่ต้องใช้การดำเนินโครงการ วิเคราะห์ความคุ้มค่าและผลประโยชน์ของโครงการ การวิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดลำดับความสำคัญของโครง วิเคราะห์ต้นทุนและทบทวน / เปรียบเทียบกับโครงการอื่น ประเมินความคุ้มค่าและผลประโยชน์ ผลกระทบที่จะได้รับ การวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณ พิจารณาความคืบหน้าตามแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ ทบทวน / การปรับเปลี่ยนแผน (งาน งบประมาณ และระยะเวลา) สรุปปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไข และบทเรียนจากการดำเนินโครงการ ติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลผลิตและกระบวนการบริหารจัดการผลผลิต ประเมินผลลัพธ์และติดตามผลกระทบที่เกิดขึ้น สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้และบทเรียนจากการใช้ ประโยชน์โครงการ ประเมินผลการใช้งานและ การติดตาม / ปรับปรุง / แก้ไข

6 ทบทวน / ตรวจสอบ / ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา
ทบทวน / ตรวจสอบสถานภาพของโครงการ โครงการเบี่ยงเบนตามแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณหรือไม่ ? ทบทวน / ตรวจสอบผลผลิต / ผลลัพธ์ / ผลกระทบที่เกิดขึ้น โครงการสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ เป็นรูปธรรมอย่างไร ? ทบทวน / ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์จาก ผลผลิตหรือไม่ ? ทบทวน / ตรวจสอบ / ประเมินผลปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข อะไรมักเป็นปัญหาและ อุปสรรคของโครงการ ? ตัดสินใจ โครงการมีความคุ้มค่าในการดำเนิน โครงการต่อเนื่องหรือไม่ ? มีทางเลือกอย่างไร ? ดำเนินการ โครงการ ต่อเนื่อง ขยายผล โครงการ ยกเลิก โครงการ ติดตาม และเฝ้าดู

7 ริเริ่มโครงการ พิจารณาที่มาของความต้องการ ริเริ่มแนวคิดโครงการ
ตัดสินใจ ความต้องการ โครงการใหม่ พิจารณาที่มาของความต้องการ โครงการที่มีมาจากปัญหาและความต้องการที่แท้จริง ของกลุ่มเป้าหมาย / ประชาชนหรือไม่ ? จำเป็นต้องศึกษาความ เป็นไปได้ของโครงการ ริเริ่มแนวคิดโครงการ ความจำเป็น การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ? พิจารณาลักษณะของโครงการ วิธีการและรูปแบบในการดำเนิน โครงการให้บรรลุเป้าหมาย ? ระบุกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ใครคือผู้ใช้ประโยชน์ กลุ่มเป้าหมาย / ประโยชน์ หรือไม่ ? ระบุเป้าหมาย ผลผลิต และคาดการณ์ผลลัพธ์ หรือผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและ / หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่มีอยู่แล้ว โครงการส่งผลให้เกิดผลกระทบ ทั้งเชิงบวกและลบที่ยอมรับได้หรือไม่ ?

8 ริเริ่มโครงการ (ต่อ) ระบุเป้าหมาย ผลผลิต และคาดการณ์ผลลัพธ์
ระบุเป้าหมาย ผลผลิต และคาดการณ์ผลลัพธ์ หรือผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและ / หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่มีอยู่แล้ว โครงการนำไปสู่ความสำเร็จตามนโยบาย / ยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ (ระดับชาติ ระดับกระทรวง และระดับพื้นที่) อย่างไร ? วิเคราะห์กระบวนการ และแนวคิดใหม่ (Log frame) เรื่องความสอดคล้อง (SWOT) ผลกระทบในมิติเชิงยุทธศาสตร์ วิเคราะห์ความเหมาะสมทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความมั่นคง (Pre – Analysis) โครงการให้ผลตอนแทนทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความมั่นคงที่คุ้มค่าได้อย่างไร ? พิจารณาศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่ พื้นที่ใด ? ที่มีความเหมาะสม ความพร้อม และมีปัญหาน้อยที่สุด ระบุทางเลือกอื่นและ วิเคราะห์ความเหมาะสมของเทคโนโลยี มีทางเลือกอื่นที่เหมาะสมกว่า ดีกว่า และคุ้มค่ากว่า หรือไม่ ?

9  ริเริ่มโครงการ (ต่อ) พิจารณาความต้องการของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ความพร้อมและความเพียงพอของปัจจัย ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ วิเคราะห์ศักยภาพและความเหมาะสมของหัวหน้า โครงการและทีมงาน หัวหน้าโครงการและทีมงานมีความมุ่งมั่น และมีขีดความสามารถมากน้อยเพียงใด ? วิเคราะห์ความเหมาะสมของระยะเวลา กระบวนการ และวิธีดำเนินการเบื้องต้น ความเป็นไปได้ของกระบวนการ และวิธีการดำเนินงาน ตัดสินใจ กพจ. เห็นชอบ

10 วิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ
ขอบเขตของโครงการครอบคลุมตามที่มา และความต้องการที่แท้จริงของโครงการหรือไม่ ? พิจารณาขอบเขตของโครงการ วิเคราะห์โครงสร้างผลผลิต/ ผลลัพธ์/และหรือผลกระทบของโครงการ และประโยชน์ต่อสาธารณชน ผลผลิตของโครงการนำไปสู่ผลประโยชน์ที่ได้รับ ด้านต่างๆ (ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง และด้านคุณภาพชีวิต) หรือไม่ ? พิจารณาความก้าวหน้าและขั้นตอนการดำเนินงานโดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกฎ ข้อบังคับ ระเบียบ กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ที่ส่งผลต่อโครงการและ ต้องนำมาพิจารณามีอะไรบ้าง ? กระบวนการนำส่งผลผลิตเป็นไปได้ / เหมาะสมหรือไม่ ? วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต พื้นที่โครงการมีศักยภาพ และไม่ส่งผลกระทบ เชิงลบต่อคนในพื้นที่ ? วิเคราะห์ศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่

11 วิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ (ต่อ)
วิเคราะห์แผนและความพร้อมในการใช้ทรัพยากรบุคลากร การประมาณราคา และทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดำเนินกิจกรรม มีทรัพยากรที่เพียงพอ และพร้อมใช้งานหรือไม่ ? วิเคราะห์และทบทวนความคุ้มค่าของโครงการเน้นการพิจารณาความน่าเชื่อถือของสมมติฐานและผลประโยชน์โครงการทางเศรษฐกิจ โครงการนำไปสู่ผลประโยชน์ที่เหมาะสมในทุกด้าน (ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง และด้านคุณภาพชีวิต) และเป็นที่ยอมรับแก่ทุกฝ่าย วิเคราะห์เทคโนโลยีที่เหมาะสมแหล่งที่มาของเทคโนโลยีความทันสมัยของเทคโนโลยีและถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมายผู้ใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีที่เหมาะสมมีความเป็นไปได้ และ ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าที่สุด วิเคราะห์แผนการดำเนินโครงการ Milestone หลักการส่งต่อ / เชื่อมโยง และความเสี่ยง และแผนการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น อะไร ? เป็น Milestone วิกฤติที่จำเป็นต้องกำหนด และความเสี่ยงใด ? ส่งผลกระทบต่อโครงการอย่าง มีนัยสำคัญ ตัดสินใจ กนพ. เห็นชอบคำขอ

12  การวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณ
จัดลำดับความสำคัญของโครงการตามมิติต่างๆ (เปรียบเทียบในระดับหน่วยงาน) ข้อมูลโครงการครบถ้วน เพียงพอสำหรับ การตัดสินใจหรือไม่ ? วิเคราะห์ต้นทุนและทบทวน / เปรียบเทียบกับโครงการอื่นในลักษณะเดียวกัน ต้นทุนของโครงการตลอดจนวัฏจักรโครงการ คุ้มค่าหรือไม่ ? ประเมินความคุ้มค่า ผลประโยชน์ ผลกระทบที่จะได้รับ / เกิดขึ้น การลงทุนในโครงการใด ? ที่ให้ผลตอบแทน และผลประโยชน์ที่เหมาะสมที่สุด พิจารณาจัดสรรงบประมาณตามความเหมาะสม ผลตอบแทนด้านสังคมและความมั่นคงมีความ น่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับแก่ทุกฝ่ายอย่างไร ? ตัดสินใจ สงป. เห็นชอบ

13 ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการ
จัดทำและอนุมัติแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ แผนปฏิบัติงานและแผนงบประมาณของโครงการ มีความเหมาะสมและสอดคล้องกันหรือไม่ ? พิจารณาความคืบหน้า ตามแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ การดำเนินโครงการเป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน และแผนงบประมาณ หรือไม่ ? ทบทวน / การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ แผนงบประมาณ และระยะเวลาดำเนินงาน การปรับเปลี่ยนแผนงานเพื่อให้ได้ความสำเร็จ ตามเป้าหมาย รายงานผลความก้าวหน้า สรุปปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไขปัญหาและบทเรียน อะไร ? เป็นปัญหา อุปสรรค ที่ต้องตระหนัก ระหว่างการดำเนินโครงการ

14 ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม / ปรับปรุง / แก้ไข
ประเมินผลผลิต และกระบวนการบริหารจัดการผลผลิต ใคร ? เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหาร จัดการ / ดูแล / บำรุงรักษาผลผลิโครงการ ประเมินผลลัพธ์ และความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิตถูกใช้ประโยชน์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ ? ติดตามผลกระทบ / การเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นทั้งทางบวกและลบ กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้ประโยชน์ ผลผลิตด้วยความพึงพอใจหรือไม่ ? สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้ไข และบทเรียน โครงการส่งผลให้เกิดผลกระทบ ทั้งเชิงบวกและลบที่ยอมรับได้หรือไม่ ?


ดาวน์โหลด ppt ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google