บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. ขั้นตอนการขออนุมัติหลักการ/ โครงการ
Advertisements

การใช้งานระบบสินค้าคงคลัง
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
โครงการพัฒนาระบบการเงินและบัญชีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ขั้นตอนการเปลี่ยนชื่อสกุล
บทที่ 4 สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
สำนักงานตรวจสอบภายใน
การบัญชีวิสาหกิจชุมชน
ความรู้เกี่ยวกับการเงิน และหลักฐานการเบิกจ่ายเงิน
การคืนเงินยืมรองจ่าย
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
การควบคุมการใช้ยานพาหนะและ การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
การให้บริการหลักฐานการศึกษา แบบ One Stop Service สำนักทะเบียนนักศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ นำเสนอโดย อ.พรพรรณ ศุภภิญโญพงศ์ อ.ปุษยาพร อุทัยพยัคฆ์
การดำเนินการจัดซื้อ/จ้าง วัสดุโครงการ
ภาควิชาวิศวกรรมระบบควบคุมและเครื่องมือวัด
งานที่เกี่ยวข้องกับระบบ GFMIS
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ระบบบัญชี.
การตรวจสอบด้านการเงิน
รายงานการติดตามการจัดการ R3 23 พฤษภาคม น.
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
การบริหารการเงินโรงเรียน
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
การจัดส่งรายงานด้านการเงินและบัญชี เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
ตัวอย่างใบเสร็จรับเงินที่ถูกต้อง
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
เงินนอกงบประมาณ โดย นางชูใจ บุญสุยา.
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
หลักฐานการจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
ในระบบ E-GP ข้อมูลผู้ขาย
ระบบบริหารบัญชีออนไลน์ STRAccountOnline
การเบิกจ่ายค่าครุภัณฑ์โครงการวิจัย
แผนผังทางเดินเอกสาร - ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ
เรื่อง ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
หน่วยที่ 5 ระบบใบสำคัญ ลักษณะของใบสำคัญจ่าย วิธีการของระบบใบสำคัญ
DFD Level 0 เป็นขั้นตอนการสร้าง DFD โดยการแตกแยกย่อย Process ออกมาเป็น Process ย่อย ๆ และแสดงแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด Aj.Wichan Hongbin.
ลักษณะของระบบบัญชี.
การเขียนใบสำคัญเบิกเงินสด
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
การออกแบบโครงสร้างการทำบัญชีโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม EXCEL
การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินวิจัย
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
ระบบการเรียกเก็บหนี้
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
การควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการ
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
บทที่ 3 การวิเคราะห์รายการค้า.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
ประชุมประจำเดือน กองวิชาการและแผนงาน
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
สำนักงานตรวจสอบภายใน วันที่ 21 มกราคม 2558
ด้านบริหารงานงบประมาณ ฉบับปรับปรุง มิถุนายน 2554
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
บทที่7 ระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี ประเภทของเอกสารทางบัญชี 1. เอกสารที่ได้รับจากบุคคลภายนอก เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี 2. เอกสารที่หน่วยงานจัดทำขึ้น เช่น ใบสำคัญจ่าย ใบส่งของ 3. เอกสารที่ธุรกิจจัดทำขึ้นเพื่อใช้ในธุรกิจ เช่น ใบสำคัญจ่าย

ปัญหาของงานในระบบเอกสาร มีดังนี้ 1. รูปแบบเอกสารที่ใช้ไม่สอดคล้องกับสภาพขององค์กรธุรกิจ 2. รูปแบบเอกสารที่ใช้ไม่สอดคล้องกับหลักการบัญชี การเงิน การภาษีอากร 3. ผู้ใช้หรือผู้ที่เกี่ยวข้องขาดความเข้าใจวิธีการใช้เอกสารนั้น

4. ระบบเอกสารไม่ได้มีการปรับปรุงให้เข้ากับสภาพใน ปัจจุบัน 5. ขาดความเข้าใจและการประสานงานระหว่างฝ่ายบัญชีหรือฝ่ายอื่นที่เกี่ยวข้อง

เอกสารที่ต้องจัดทำตามประมวลรัษฏากร ใบรับ ใบส่งของ ใบกำกับภาษี

แบบฟอร์มที่ใช้ในธุรกิจตามฝ่ายต่าง ๆ ดังนี้ ฝ่ายจัดซื้อ ได้แก่ ใบสั่งซื้อ ใบขอซื้อ ใบรับสินค้า ใบเสนอราคา ฝ่ายผลิต ได้แก่ ใบสั่งผลิต ใบเบิกวัตถุดิบ ใบเบิกวัสดุ ใบส่งคืนวัสดุ/วัตถุดิบ ฝ่ายขาย ได้แก่ ใบแจ้งหนี้ ใบเสร็จรับเงิน บิลเงินสด ใบส่งของ/ใบกำกับสินค้า ใบเสนอราคา ใบกำกับภาษี

4. ฝ่ายบุคลากร ได้แก่ สมุดลงเวลาทำงาน ใบแจ้งการรับพนักงานใหม่ ใบสมัครงาน ประวัติการทำงาน ทะเบียนเงินเดือน ใบสรุปเงินเดือน และการหักภาษี ณ ที่จ่าย 5. ฝ่ายคลังสินค้า ได้แก่ บัตรสินค้า ใบขอซื้อ ป้ายตรวจนับสินค้า ใบรับสินค้า ใบเบิกสินค้า ใบส่งคืนสินค้า รายงานสินค้าคงเหลือ รายงานการตรวจนับสินค้า 6. ฝ่ายการเงินและบัญชี ได้แก่ ใบนำส่งเงิน ใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับสินค้า ใบรับเงิน ใบเบิกเงิน รายงานการรับ-จ่ายเงิน ใบอนุมัติการจ่ายเงิน ใบสำคัญรับเงิน ใบสำคัญจ่ายเงิน

การเก็บรักษาแบบฟอร์มหรือเอกสาร แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การเก็บรักษาแบบฟอร์มหรือเอกสาร แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การเก็บรักษาแบบฟอร์มที่ยังไม่ได้ใช้ การเก็บรักษาแบบฟอร์มที่ใช้แล้ว

หลักเกณฑ์ในการกำหนดลักษณะแบบพิมพ์ ควรมีขนาดกะทัดรัด เหมาะสมในการเก็บข้อมูลและสะดวกในการเก็บรักษา การตรวจสอบและการอ้างอิง ควรกำหนดจำนวนให้เหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป ชื่อของแบบพิมพ์ควรมีความหมายชัดเจนในตัวเอง สะดวกในการเก็บรักษา และนำกลับมาตรวจสอบ แบบพิมพ์บางแบบต้องพิมพ์เลขที่เรียงลำดับหน้ากำกับไว้ เช่น ใบเสร็จรับเงิน ตัวอักษรต้องมีลักษณะเรียบ อ่านง่าย ขนาดพอดี

7. แบบพิมพ์แต่ละแบบควรมีจำนวนคู่ฉบับและสำเนาให้เพียงพอ 8. สีของแบบพิมพ์ควรเป็นสีอ่อนไม่ฉูดฉาดและกระดาษไม่หนาหรือเกินไป ตัวอย่างเอกสารแบบพิมพ์ที่ใช้ในธุรกิจ ใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี/ใบส่งสินค้า ใบลดหนี้/ใบกำกับภาษี

กลับ

กลับ

กลับ