ประเมินศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าไทยใน ASEAN+3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง) กรมป่าไม้
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2554 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2554.
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 เมษายน 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 57.14% สพฉ % สวรส %
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 73.87% สพฉ % สวรส %
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มกราคม 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 32.20% สพฉ % สวรส %
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 เมษายน 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 57.58% สพฉ % สปสช %
งป. ทั้งหมด งป. เบิกจ่าย สวรส. วิท ย์ แพทย์สุขภา พจิต สบ ส. อนา มัย คร.คร. พัฒนฯอย , , ,061.3.
ข้อมูล การ จัดเก็บ รายได้ ปีงบประมาณ หน่วย : ล้าน บาท ,20 0 1,50 0 1,80 0 ก. ค. 55 ก. ค. 56 ก. ค. 56 เป้าห มาย จัดเก็บ ได้ปีนี้ จัดเก็บ.
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
แนวทางการบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2556
สมาชิก น.ส. วนิดา ประจง เลขที่ 7 น.ส. ญาดา กาญจนา เลขที่ 11
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2554 (ต.ค ธ.ค. 2553)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
วิเคราะห์งบประมาณ ยศ.ทร. งป.56 ในไตรมาสที่2
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 49.31% สพฉ % สวรส %
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
ตารางเปรียบเทียบ ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า กลุ่มลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง
รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 สำนักการคลังและสินทรัพย์
1 รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 29 ม.ค สำนักการคลังและสินทรัพย์
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 2555 ฎีกา 1 –64 31 มกราคม 2555
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งบประมาณ ปี 2554 งบรายจ่าย งบประมาณ ผูกพัน เบิกจ่าย คงเหลือ ร้อยละ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังโลก
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มกราคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 39.09% สพฉ % สวรส %
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
สรุปผลการดำเนินงาน (เบื้องต้น) ม. ค. - มิ. ย ของ อ. อ. ป
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 65.87% สพฉ % สวรส %
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 29 พฤษภาคม 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 65.34% สพฉ % สวรส %
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
Center for International Trade Studies – University of the Thai Chamber of Commerce บทวิเคราะห์ “การแข่งขันสินค้าไทยและอาเซียน ในตลาดจีนในอีก 5 ปี ข้างหน้า”
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
วาระที่ รายงานภาวการณ์ลงทุนในช่วง 5 เดือนแรก ปี 2556.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ในการเลื่อนเงินเดือน
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
วาระที่ 3.3 รายงานภาวการณ์ลงทุนในช่วง 4 เดือนแรก ปี 2556.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมตั้งแต่เดือน ม. ค.– ก. ค. 56 เพิ่มขึ้น 29 % +1% +29% จำนวน โครงการ เงินลงทุน พันล้าน บาท 1,184 1,
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมตั้งแต่เดือน ม. ค. - ก. พ. 56 ลดลง 7 %
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเมินศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าไทยใน ASEAN+3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ และผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

กรอบความร่วมมือต่างๆ   2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2558 2561 อาเซียน-จีน (ACFTA) ภาษี 0% ผักผลไม้ (พิกัด 07-08) ลงนามความตกลงฯ ภาษี 0% (Early Harvest (พิกัด 01-08)) ภาษี 0% (>90%) อาเซียน -ญี่ปุ่น (AJCEP) ลงนามความตกลงฯ, บรูไน ลาว พม่า สิงคโปร์ เวียดนาม (มีผลบังคับใช้ธันวาคม 2551), ภาษี 0% ไทย (มีผลบังคับใช้วันที่ 1 มิถุนายน 2552), อาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (AKFTA) ลงนามความตกลงฯ, มีผลบังคับใช้กับเกาหลีและอาเซียน 9 (ยกเว้นไทย) เริ่มภาษี 0% มีผลบังคับใช้กับเกาหลีและอาเซียน 9 (ยกเว้นไทย), ไทยลงนามพิธีสารเข้าเป็นภาคี มีผลบังคับใช้กับไทย, AEC ASEAN 6 ภาษี 0% CLMV ภาษี 0-5% ASEAN+3 ลงนามในปฏิญญา แผนงานความร่วมมืออาเซียน+3 (2550-2560)

ASEAN+3 กรอบความร่วมมืออาเซียน+3 (ASEAN+3) เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศนอกกลุ่ม 3 ประเทศ คือ จีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในระดับอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออก และเพื่อนำไปสู่การจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก (East Asian Community) โดยให้อาเซียนและกระบวนการต่างๆ ภายใต้กรอบความร่วมมืออาเซียน+3

ภาวะเศรษฐกิจจีน-ญี่ปุ่น-เกาหลีใต้-อาเซียน ปี 2013   จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อาเซียน* GDP (พันล้านเหรียญสหรัฐ) 9,181.4 4,901.5 1,221.8 2,318.2 รายได้ประชากรต่อหัว (ดอลลาร์สหรัฐ) 6,747.2 38,491.4 24,329.0 3,756.1 อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ย (%การเปลี่ยนแปลง) 2.6 0.4 1.3 3.4** อัตราการว่างงาน (%) 4.1 4.0 3.1 3.07** จำนวนประชากร (ล้านคน) 1,360.8 127.3 50.2 610 ไทยมีสัดส่วน 15% ของ GDP อาเซียน และ GDP อินโดนีเซียมีสัดส่วน 38% ของ GDP อาเซียน ที่มา: IMF (International Monetary Fund) Association of Southeast Asian Nations (http://www.asean.org/), 2014 หมายเหตุ: *ข้อมูลปี 2012 ** ค่าเฉลี่ยของ 10 ประเทศในอาเซียน

วิเคราะห์การส่งออก นำเข้า และดุลการค้าระหว่างอาเซียนกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ มูลค่าตลาดส่งออกทั้งสาม 436,831 หรือ 14 ล้านล้านบาท ตลาดจีนคิดเป็น 55% มูลค่าการค้ารวม 442,707 มูลค่าการค้ารวม 228,763 มูลค่าการค้ารวม 135,336 มูลค่ารวม 26 ล้านล้านบาท ตลาดจีน 55% ดุลการค้า ส่งออก นำเข้า

วิเคราะห์การส่งออกของอาเซียนไปจีน (รายประเทศ) สิงคโปร์ ส่งออกไปจีนมากที่สุดในอาเซียนรองลงมา คือ มาเลเซีย และไทย เมียนมาร์ มีอัตราการขยายตัวอย่างก้าวกระโดดในปี 2555/2556

วิเคราะห์การนำเข้าของอาเซียนจากจีน (รายประเทศ) เวียดนาม นำเข้าจากจีนมากที่สุดในอาเซียน รองลงมา คือ สิงคโปร์ และไทย

วิเคราะห์ดุลการค้าระหว่างจีนกับอาเซียน (รายประเทศ) ประเทศไทยขาดดุลการค้ากับจีนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปี 56 สามแสนห้าหมื่นล้าน หมายเหตุ: เครื่องหมายลบ หมายถึง ขาดดุลการค้า ไม่มีเครื่องหมาย หมายถึง ได้ดุลการค้า ไทย อินโดนีเซีย และเวียดนาม ขาดดุลการค้ากับจีนมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี 2550-2556 กัมพูชา ได้ดุลการค้าจากจีนมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี 2550-2556

วิเคราะห์การส่งออกของอาเซียนไปญี่ปุ่น (รายประเทศ) อินโดนีเซีย ส่งออกไปญี่ปุ่นมากที่สุดในอาเซียนรองลงมา คือ มาเลเซีย และไทย

วิเคราะห์การนำเข้าของอาเซียนจากญี่ปุ่น (รายประเทศ) ไทย นำเข้าจากญี่ปุ่นมากที่สุด รองลงมา คือ สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย

วิเคราะห์ดุลการค้าระหว่างอาเซียนกับญี่ปุ่น (รายประเทศ) หมายเหตุ: เครื่องหมายลบ หมายถึง ขาดดุลการค้า ไม่มีเครื่องหมาย หมายถึง ได้ดุลการค้า ไทย สิงคโปร์ ขาดดุลการค้ากับญี่ปุ่นมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี 2550-2556 อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ได้ดุลการค้าจากญี่ปุ่นมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี 2550-2556

วิเคราะห์การส่งออกของอาเซียนไปเกาหลีใต้ (รายประเทศ) สิงคโปร์ ส่งออกไปเกาหลีใต้มากที่สุดในอาเซียนรองลงมา คือ อินโดนีเซีย มาเลเซียเวียดนาม และไทยส่งออกไปเกาหลีใต้เป็นอันดับที่ 5

วิเคราะห์การนำเข้าของอาเซียนจากเกาหลีใต้ (รายประเทศ) สิงคโปร์ นำเข้าจากเกาหลีใต้มากที่สุดในอาเซียนรองลงมา คือ เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทยส่งออกไปเกาหลีใต้เป็นอันดับที่ 5

วิเคราะห์ดุลการค้าระหว่างอาเซียนกับเกาหลีใต้ (รายประเทศ) หมายเหตุ: เครื่องหมายลบ หมายถึง ขาดดุลการค้า ไม่มีเครื่องหมาย หมายถึง ได้ดุลการค้า ไทย เวียดนาม เมียนมาร์ สิงคโปร์ กัมพูชา และฟิลิปปินส์ ขาดดุลการค้าจากเกาหลีใต้อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2550-2556

ตลาดจีน

สรุปส่วนแบ่งตลาดของสินค้าในตลาดจีน   รายการสินค้า ปี 2550-2553 ปี 2554-2556 หมายเหตุ ส่วนแบ่งตลาดอันดับ 1 ส่วนแบ่งตลาดอันดับ 2 ส่วนแบ่งตลาดอันดับ 3 1 ข้าว ไทย เวียดนาม - กัมพูชา เวียดนามแย่งตลาดจากไทย 2 ยางพารา มาเลเซีย อินโดเชีย 1. ไทยครองตลาดอันดับ 1 2. ปี 2554-2556 ส่วนแบ่งตลาดไทยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 48.2 เป็นร้อยละ 54.3 3 น้ำมันปาล์มดิบ ฟิลิปปินส์ 1. อินโด ครองตลาดอันดับ 1 2. อินโดฯ ดึงส่วนแบ่งตลาดจากมาเลฯ และไทย 3. ปี 2554-2556 อินโดฯ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 57.1 เป็นร้อยละ 72.4 4 ยานพาหนะ และชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ สิงคโปร์ ไทย,อินโดนีเซีย 1. ส่วนแบ่งตลาดของสิงคโปร์ และ มาเลเซียลดลง 2. ส่วนแบ่งตลาดของ ไทยและอินโดนีเซีย เพิ่มขึ้น 5 ผลิตภัณฑ์ไม้ อินโดนีเซีย มาเล เสียส่วนแบ่งตลาดให้ ไทย เวียดนาม และอินโดนีเซีย 6 เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย 1. เวียดนามครองส่วนแบ่งตลาดอันดับ 1 2. ไทยเสียตลาดให้อินโดฯและกัมพูชา 7 เครื่องใช้ไฟฟ้า 2. ไทยแย่งส่วนแบ่งตลาดมาจากฟิลิปปินส์ 8 ยางและผลิตภัณฑ์ ลำดับส่วนแบ่งตลาดไม่เปลี่ยนแปลง

สรุปการครองตลาดสินค้าในตลาดจีน หลัง ASEAN+3 (2554-2556) ประเทศครองตลาดอันดับ 1 การสูญเสียตลาด ประเทศที่สูญเสียส่วนแบ่งตลาด ร้อยละ ประเทศที่ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น มูลค่า (เหรียญสหรัฐฯ)* ข้าว เวียดนาม ไทย 61.5 เวียดนาม (60.5%), กัมพูชา (1.0%) 107,460,431.9 (เวียดนาม 105,713,107.8) (กัมพูชา 1,747,324.1) ยางพารา มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ 9.4 ไทย (6.1%), เวียดนาม(2.2%) เมียนมาร์ (0.6%) ลาว (0.4%) กัมพูชา (0.1%) 117,383,819.4 (ไทย 76,174,606.2) (เวียดนาม 27,472,808.8) (เมียนมาร์ 7,492,584.2) (ลาว 4,995,056.1) (กัมพูชา 1,248,764.0) น้ำมันปาล์มดิบ อินโดนีเซีย ไทย และมาเลเซีย 15.9 อินโดนีเซีย (15.3%), ฟิลิปปินส์ (0.6%) 2,888,581.5 (อินโดนีเซีย 2,779,578.4) (ฟิลิปปินส์ 109,003.1) ยานพาหนะและชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ สิงคโปร์ มาเลเซีย และสิงคโปร์ 11.2 ไทย (3.7%), อินโดนีเซีย (3.7%), เวียดนาม(2.4%), ฟิลิปปินส์ (1.4%) 18,783,379.6 ไทย (6,205,223.6) อินโดนีเซีย (6,205,223.6) เวียดนาม(4,025,009.9) ฟิลิปปินส์ (2,347,922.5) ผลิตภัณฑ์ไม้ มาเลเซียและเมียนมาร์ 17.7 ไทย (1.7%), อินโดนีเซีย (2.5%), เวียดนาม(8.0%), ลาว (4.8%) กัมพูชา (0.3%),ฟิลิปปินส์ (0.4%) 718,555,022.3 ไทย (69,013,759.2) อินโดนีเซีย (101,490,822.4) เวียดนาม(324,770,631.6) (ลาว 194,862,378.9) (กัมพูชา 12,178,898.7) ฟิลิปปินส์ (16,238,531.6) เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ ลาวและฟิลิปปินส์ 21.4 อินโดนีเซีย (0.9%), เวียดนาม(12.0%), เมียนมาร์ (2.3%) ,กัมพูชา (6.2%) 12,355,568.2 (อินโดนีเซีย 519,626.70) (เวียดนาม6,928,355.98 (เมียนมาร์ 1,327,934.90) (กัมพูชา 3,579,650.59) เครื่องใช้ไฟฟ้า มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ 13.8 มาเลเซีย (8.3%) ,เวียดนาม(5.5%) 1,908,417,889.93 (มาเลเซีย 1,147,816,556.99) ,เวียดนาม760,601,332.94) ยางและผลิตภัณฑ์ อินโดนีเซีย เวียดนาม สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ 4.7 ไทย (4.1%), มาเลเซีย (0.3%), เมียนมาร์ (0.1%), กัมพูชา (0.2%) 10,201,215.8 (ไทย 8,898,933.0), (มาเลเซีย 651,141.4), เมียนมาร์ (217,047.1), (กัมพูชา 434,094.3) หมายเหตุ: * มูลค่าเฉลี่ยในช่วงปี 2554-2556 (หลัง ASEAN+3)

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า) ข้าว ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 96.5 35.0 มาเลเซีย 0.0 - อินโดนีเซีย เวียดนาม 3.5 64.0 เมียนมาร์ สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา 1.0 ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN 100.0 เวียดนาม แย่งส่วนแบ่งตลาดจากไทยในตลาดจีน ในช่วงปี 2554-2556 ทำให้เวียดนามครองตำแหน่งผู้ส่งออกข้าวอันดับหนึ่ง ในตลาดจีน (เวียดนาม: ร้อยละ 64 ,ไทย: ร้อยละ 35) ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า) ยางพารา ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 48.2 54.3 มาเลเซีย 22.9 15.7 อินโดนีเซีย 22.2 20.1 เวียดนาม 4.7 6.9 เมียนมาร์ 1.0 1.6 สิงคโปร์ 0.0 ลาว 0.4 0.8 กัมพูชา 0.5 ฟิลิปปินส์ 0.2 0.1 บรูไน - ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556 ไทยเป็นผู้ส่งออกยางพาราอันดับ 1 ในตลาดจีน

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า) น้ำมันปาล์มดิบ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 1.9 0.0 มาเลเซีย 40.6 26.6 อินโดนีเซีย 57.1 72.4 เวียดนาม - เมียนมาร์ สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 0.4 1.0 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า) ยานพาหนะ ชิ้นส่วนประกอบ และอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 17.6 21.3 มาเลเซีย 22.8 20.3 อินโดนีเซีย เวียดนาม 2.5 4.9 เมียนมาร์ 0.0 - สิงคโปร์ 36.3 27.8 ลาว กัมพูชา 0.1 ฟิลิปปินส์ 3.0 4.4 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556 ไทยครองส่วนตลาดเพิ่มขึ้นในปี 2554-2556 จากร้อยละ 17.6 เป็นร้อยละ 21.3 ขณะที่สิงคโปร์ มีส่วนตลาดลดลงเหลือ 27.8

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า) ผลิตภัณฑ์ไม้ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 26.3 28.0 มาเลเซีย 23.6 8.9 อินโดนีเซีย 14.4 16.9 เวียดนาม 15.6 23.7 เมียนมาร์ 13.7 10.7 สิงคโปร์ 0.0 ลาว 3.2 8.0 กัมพูชา 1.0 1.3 ฟิลิปปินส์ 2.1 2.5 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า) เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 24.9 13.3 มาเลเซีย 8.3 3.3 อินโดนีเซีย 19.3 20.2 เวียดนาม 30.0 42.0 เมียนมาร์ 0.6 3.0 สิงคโปร์ 1.1 0.3 ลาว 0.5 0.1 กัมพูชา 7.7 14.0 ฟิลิปปินส์ 7.6 4.0 บรูไน 0.0 ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า) เครื่องใช้ไฟฟ้า ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 22.3 18.0 มาเลเซีย 34.4 42.7 อินโดนีเซีย 3.0 2.2 เวียดนาม 1.4 6.9 เมียนมาร์ 0.0 สิงคโปร์ 15.9 15.0 ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 22.9 15.1 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า) ยางและผลิตภัณฑ์ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 42.9 47.0 มาเลเซีย 39.3 39.6 อินโดนีเซีย 9.1 8.2 เวียดนาม 4.9 2.3 เมียนมาร์ 0.0 0.1 สิงคโปร์ 2.7 1.8 ลาว กัมพูชา 0.2 ฟิลิปปินส์ 1.0 0.9 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ตลาดญี่ปุ่น

สรุปส่วนแบ่งตลาดของสินค้าใน ตลาดญี่ปุ่น รายการสินค้า ปี 2550-2553 ปี 2554-2556 หมายเหตุ ส่วนแบ่งตลาด 1 2 3 ข้าว ไทย เวียดนาม - เมียนมาร์ 1. ไทยครองตลาดอันดับ 1 2. ปี 2554-2556 ไทยแย่งส่วนแบ่งตลาดจากเวียดนาม ยางพารา อินโดนีเซีย มาเลเซีย 1. อินโด ครองตลาดอันดับ 1 2. ปี 2554-2556 อินโดแย่งส่วนแบ่งตลาดจากไทย น้ำมันปาล์มดิบ มาเลเซียครองตลาดญี่ปุ่น 100% ยานพาหนะ และชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ ลำดับส่วนแบ่งตลาดไม่เปลี่ยนแปลง ผลิตภัณฑ์ไม้ ฟิลิปปินส์ เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ปี 2554-2556 อินโดฯ ส่วนตลาดเพิ่มขึ้น ทำให้ส่วนแบ่งตลาดของไทยตกเป็นอันดับ 3 เครื่องใช้ไฟฟ้า ยางและผลิตภัณฑ์

สรุปการครองตลาดสินค้าในตลาดญี่ปุ่นหลัง ASEAN+3 (2554-2556) ประเทศที่ครองตลาดอันดับ 1 การสูญเสียตลาด ประเทศที่สูญเสียส่วนแบ่งตลาด ร้อยละ ประเทศที่ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น มูลค่า (เหรียญสหรัฐฯ)* ข้าว ไทย เวียดนาม 9.4 ไทย (8.8%) และเมียนมาร์ (0.6%) 472,408.4 (ไทย 442,254.6) (เมียนมาร์ 30,153.7) ยางพารา อินโดนีเซีย ไทย มาเลเซีย และเวียดนาม 5.5 อินโดนีเซีย (5.5%) 59,641,320 (อินโดนีเซีย) น้ำมันปาล์มดิบ มาเลเซีย - ยานพาหนะและชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ 7.5 ไทย (7.5%) 26,262,293.3 (ไทย) ผลิตภัณฑ์ไม้ มาเลเซีย อินโดนีเซีย เมียนมาร์ และสิงคโปร์ 10.7 ไทย (0.6%) เวียดนาม (4.0%) ลาว (0.1%) ฟิลิปปินส์ (6.0%) 138,637,450.3 (ไทย 7,774,062.6) (เวียดนาม 51,827,084.2) (ลาว 1,295,677.1) (ฟิลิปปินส์ 77,740,626.3) เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ไทย มาเลเซีย เวียดนาม และฟิลิปปินส์ 10 อินโดนีเซีย (4.8%) เมียนมาร์ (2.0%) ลาว (0.3%) และกัมพูชา (2.9%) 85,179,442 (อินโดนีเซีย 40,886,132.2) (เมียนมาร์ 17,035,888.4) (ลาว2,555,383.3) (กัมพูชา 24,702,038.2) เครื่องใช้ไฟฟ้า ไทย และสิงคโปร์ 3.2 มาเลเซีย (0.2%) อินโดนีเซีย (0.1%) เวียดนาม (2.8%) และกัมพูชา (0.1%) 100,904,388 (มาเลเซีย 6,306,524.2 ) (อินโดนีเซีย 3,153,262.1) (เวียดนาม 88,291,339.5 ) (กัมพูชา 3,153,262.1) ยางและผลิตภัณฑ์ ไทย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ 7.0 มาเลเซีย (3.9%) เวียดนาม (2.6%) ฟิลิปปินส์ (0.5%) 19,053,448.2 (มาเลเซีย 1,061,5492.) (เวียดนาม 7,076,995 ) (ฟิลิปปินส์ 1,360,960.6) หมายเหตุ: * มูลค่าเฉลี่ยในช่วงปี 2554-2556 (หลัง ASEAN+3)

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า) ข้าว ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 87.1 95.9 มาเลเซีย 0.0 อินโดนีเซีย - เวียดนาม 12.9 3.5 เมียนมาร์ 0.6 สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN 100.0 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556 ไทยครองส่วนแบ่งตลาดข้าวเป็นอันดับ 1 ในตลาดญี่ปุ่น รองลงมา คือ เวียดนาม

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า) ยางพารา ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 47.9 43.0 มาเลเซีย 1.4 0.9 อินโดนีเซีย 49.4 54.8 เวียดนาม 1.3 เมียนมาร์ - 0.0 สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า) น้ำมันปาล์มดิบ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย - มาเลเซีย 100.0 อินโดนีเซีย เวียดนาม เมียนมาร์ สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า) ยานพาหนะ ชิ้นส่วนประกอบ และอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 45.9 53.4 มาเลเซีย 4.3 3.4 อินโดนีเซีย 21.2 18.1 เวียดนาม 11.4 10.4 เมียนมาร์ 0.0 สิงคโปร์ 1.1 0.8 ลาว - กัมพูชา 0.1 ฟิลิปปินส์ 15.9 13.8 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า) ผลิตภัณฑ์ไม้ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 4.6 5.2 มาเลเซีย 45.4 36.0 อินโดนีเซีย 28.9 27.6 เวียดนาม 7.7 11.7 เมียนมาร์ 0.3 0.2 สิงคโปร์ 0.1 0.0 ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 12.8 18.8 บรูไน - ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น(วิเคราะห์รายสินค้า) เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 15.0 10.6 มาเลเซีย 3.9 2.3 อินโดนีเซีย 10.9 15.7 เวียดนาม 55.9 53.4 เมียนมาร์ 7.6 9.6 สิงคโปร์ 0.1 ลาว 0.3 0.6 กัมพูชา 2.0 4.9 ฟิลิปปินส์ 4.2 2.9 บรูไน 0.0 ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า) เครื่องใช้ไฟฟ้า ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 29.2 28.9 มาเลเซีย 23.5 23.7 อินโดนีเซีย 9.0 9.1 เวียดนาม 11.9 เมียนมาร์ 0.0 สิงคโปร์ 13.6 10.8 ลาว กัมพูชา 0.1 ฟิลิปปินส์ 15.6 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า) ยางและผลิตภัณฑ์ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 42.8 41.6 มาเลเซีย 20.7 24.6 อินโดนีเซีย 28.6 23.5 เวียดนาม 3.1 5.7 เมียนมาร์ - 0.0 สิงคโปร์ 1.0 0.2 ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 3.8 4.3 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ตลาดเกาหลีใต้

สรุปส่วนแบ่งตลาดของสินค้าใน ตลาดเกาหลีใต้   รายการสินค้า ปี 2550-2553 ปี 2554-2556 หมายเหตุ ส่วนแบ่งตลาด 1 2 3 ข้าว ไทย - เวียดนาม 1. ไทยครองส่วนแบ่งตลาดอันดับ 1 2. ปี 2554-2556 เวียดนามแย่งส่วนแบ่งตลาดจากไทยไปร้อยละ 6.3 คิดเป็นมูลค่า 630,956.53 เหรียญสหรัฐฯ ยางพารา อินโดเชีย มาเลเซีย ลำดับส่วนแบ่งตลาดไม่เปลี่ยนแปลงทั้งสองช่วงเวลา น้ำมันปาล์มดิบ ปี 2554-2556 ไทยแย่งส่วนแบ่งตลาดจากมาเลเซีย คิดเป็นมูลค่า 34,824 เหรียญสหรัฐฯ 4 ยานพาหนะและชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ สิงคโปร์ ไทยครองส่วนแบ่งตลาดอันดับ 1 5 ผลิตภัณฑ์ไม้ ฟิลิปปินส์ ไทยไม่ติดอนดับ 1 ใน 3 ในตลาดเกาหลีใต้ 6 เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย อินโดนีเซีย ในปี 2554-2556 ไทยสูญเสียการครองส่วนแบ่งตลาดอันดับ 2 ให้แก่อินโดนีเซีย 7 เครื่องใช้ไฟฟ้า 8 ยางและผลิตภัณฑ์ 2. ปี 2554-2556 มาเลเซียแย่งการครองส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 2 จากอินโดฯ

สรุปการครองตลาดสินค้าในตลาดเกาหลีใต้หลัง ASEAN+3 (2554-2556) ประเทศที่ครองตลาดอันดับ 1 การสูญเสียตลาด ประเทศที่สูญเสียส่วนแบ่งตลาด ร้อยละ ประเทศที่ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น มูลค่า (เหรียญสหรัฐฯ)* ข้าว ไทย 6.9 เวียดนาม (6.3%) มาเลเซีย (0.6%) 207,788.10 (เวียดนาม 189,719.6) (มาเลเซีย 18,068.5 ) ยางพารา มาเลเซีย เวียดนาม และฟิลิปปินส์ 8.5 ไทย (1.5%) อินโดนีเซีย (6.0%) เมียนมาร์ (0.4%) และกัมพูชา (0.6%) 244,784,397.3 (ไทย 43,197,246.6) (อินโดนีเซีย 172,788,986.4) (เมียนมาร์ 11,519,265.8) (กัมพูชา 17,278,898.6) น้ำมันปาล์มดิบ มาเลเซีย 41.7 ไทย (19.4%) อินโดนีเซีย (22.3%) 414,076.1 (ไทย 192,639.7) (อินโดนีเซีย 221,436.4) ยานพาหนะ และชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ ไทย มาเลเซีย เวียดนาม เมียนมาร์ และฟิลิปปินส์ 18.5 อินโดนีเซีย (13.9%) สิงคโปร์ (3.9%) กัมพูชา (0.7%) 14,310,417.1 (อินโดนีเซีย 10,752,151.2) (สิงคโปร์ 3,016,790.6 ) (กัมพูชา 541,475.2) ผลิตภัณฑ์ไม้ 17.8 เวียดนาม (17.3%) ลาว (0.3%) ฟิลิปปินส์ (0.2%) 39,588,170.70 (เวียดนาม 38476,143.4 ) (ลาว 667,216.4 ) (ฟิลิปปินส์ 444,810.9) เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย เวียดนาม ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ ลาว และฟิลิปปินส์ 1.7 อินโดนีเซีย (3.5%) เวียดนาม (5.6%) เมียนมาร์ (1.2%) และกัมพูชา (0.4%) 4748147.8 (อินโดนีเซีย 1,553,132.5) (เวียดนาม 2,485,012) (เมียนมาร์ 532,502.6) (กัมพูชา 177,500.9) เครื่องใช้ไฟฟ้า สิงคโปร์ ไทย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ 5.0 อินโดนีเซีย (0.7%) เวียดนาม (4.3%) 201,560,549.9 (อินโดนีเซีย 28,218,477) (เวียดนาม 173,342,072.9) ยางและผลิตภัณฑ์ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ 8.2 อินโดนีเซีย (1.5%) เวียดนาม (6.7%) 4503345.1 (อินโดนีเซีย 823,782.6) (เวียดนาม 3,679,562.5) หมายเหตุ: * มูลค่าเฉลี่ยในช่วงปี 2554-2556 (หลัง ASEAN+3)

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า) ข้าว ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 100.0 93.1 มาเลเซีย 0.0 0.6 อินโดนีเซีย เวียดนาม 6.3 เมียนมาร์ สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า) ยางพารา ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 45.9 47.4 มาเลเซีย 15.3 8.6 อินโดนีเซีย 28.4 34.4 เวียดนาม 7.5 6.9 เมียนมาร์ 0.4 0.8 สิงคโปร์ 0.0 ลาว กัมพูชา 1.0 ฟิลิปปินส์ 2.1 0.9 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า) น้ำมันปาล์มดิบ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 0.0 19.4 มาเลเซีย 99.9 58.2 อินโดนีเซีย 0.1 22.4 เวียดนาม เมียนมาร์ สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า) ยานพาหนะ ชิ้นส่วนประกอบ และอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 28.5 27.0 มาเลเซีย 16.2 6.6 อินโดนีเซีย 8.1 22.0 เวียดนาม 20.2 18.7 เมียนมาร์ 0.2 0.1 สิงคโปร์ 17.0 20.9 ลาว 0.0 กัมพูชา 0.6 1.3 ฟิลิปปินส์ 9.3 3.3 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า) ผลิตภัณฑ์ไม้ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 13.8 11.0 มาเลเซีย 49.5 37.4 อินโดนีเซีย 26.1 23.7 เวียดนาม 8.5 25.7 เมียนมาร์ 0.8 0.4 สิงคโปร์ 0.2 0.1 ลาว 0.5 กัมพูชา 0.0 ฟิลิปปินส์ 1.0 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า) เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 8.0 2.8 มาเลเซีย 2.3 0.5 อินโดนีเซีย 11.9 15.4 เวียดนาม 55.8 61.4 เมียนมาร์ 13.1 14.3 สิงคโปร์ 0.6 0.1 ลาว 0.0 กัมพูชา 2.6 3.0 ฟิลิปปินส์ 5.6 2.5 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า) เครื่องใช้ไฟฟ้า ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 14.0 12.8 มาเลเซีย 20.0 อินโดนีเซีย 3.5 4.2 เวียดนาม 1.9 6.2 เมียนมาร์ 0.0 สิงคโปร์ 47.8 44.9 ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 12.7 11.8 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า) ยางและผลิตภัณฑ์ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 39.9 34.6 มาเลเซีย 35.1 อินโดนีเซีย 10.7 12.2 เวียดนาม 5.7 12.4 เมียนมาร์ 0.0 สิงคโปร์ 7.3 5.8 ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 1.3 0.4 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี 2550-2553 หลัง ASEAN+3 คือ ปี 2554-2556

สรุปศักยภาพอาเซียน หลัง ASEAN+3 (2554-2556)   มูลค่าส่งออก (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) สรุป จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ASEAN+3 ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 หลัง ASEAN+3 ส่วนต่าง ได้/เสีย มูลค่า (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ไทย 73,472.3 72,234.3 -1,238.0 36,563.7 33,462.4 -3,101.2 9,277.4 8,028.5 -1,248.9 เสีย -5,588.2 มาเลเซีย 101,933.7 126,716.4 24,782.7 27,948.2 23,500.9 -4,447.3 11,998.5 9,870.4 -2,128.1 ได้ 18,207.3 อินโดนีเซีย 14,237.8 14,624.8 387.0 18,375.7 18,845.9 470.2 3,826.6 5,099.3 1,272.7 2,129.9 เวียดนาม 24,722.6 25,394.3 671.6 14,160.2 18,298.6 4,138.4 2,582.8 7,115.4 4,532.6 9,342.6 เมียนมาร์ 1,026.7 1,660.2 633.5 612.1 1,274.9 662.8 275.7 963.0 687.2 1,983.6 สิงคโปร์ 43,519.7 41,458.4 -2,061.3 12,395.8 8,268.0 -4,127.9 23,371.7 17,562.2 -5,809.4 -11,998.6 ลาว 275.9 1,071.4 795.4 51.2 117.2 66.0 6.7 7.7 1.0 862.5 กัมพูชา 187.1 652.5 465.4 168.1 700.4 532.4 65.0 263.9 198.9 1,196.7 ฟิลิปปินส์ 60,816.6 41,706.4 -19,110.2 17,033.7 15,490.9 -1,542.8 6,375.2 4,802.7 -1,572.5 -22,225.5 บรูไน 0.7 0.3 -0.4 2.3 -1.7 4.1 8.5 4.5 2.4

สรุปศักยภาพอาเซียน หลัง ASEAN+3 (2554-2556)   มูลค่าส่งออก (ล้านบาท) สรุป จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ASEAN+3 ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 หลัง ASEAN+3 ส่วนต่าง ได้/เสีย มูลค่า (ล้านบาท) ไทย 2,407,687.3 2,367,118.0 -40,569.3 1,198,192.4 1,096,562.8 -101,626.3 304,020.4 263,093.9 -40,926.5 เสีย -183,125.3 มาเลเซีย 3,340,367.3 4,152,496.4 812,129.1 915,862.5 770,124.5 -145,738.0 393,190.8 323,453.0 -69,737.8 ได้ 596,653.2 อินโดนีเซีย 466,572.7 479,254.7 12,682.0 602,171.7 617,580.1 15,408.5 125,397.7 167,104.1 41,706.4 69,796.8 เวียดนาม 810,159.6 832,171.2 22,008.3 464,029.8 599,645.1 135,615.4 84,638.4 233,171.7 148,533.3 306,157.0 เมียนมาร์ 33,645.0 54,404.8 20,759.8 20,058.5 41,778.5 21,720.0 9,034.7 31,557.5 22,519.5 65,002.6 สิงคโปร์ 1,426,140.6 1,358,591.8 -67,548.8 406,210.4 270,942.4 -135,271.3 765,890.6 575,513.3 -190,374.0 -393,194.1 ลาว 9,041.2 35,109.8 26,065.3 1,677.8 3,840.6 2,162.8 219.6 252.3 32.8 28,264.1 กัมพูชา 6,131.3 21,382.4 15,251.2 5,508.6 22,952.1 17,446.7 2,130.1 8,648.0 6,518.0 39,215.9 ฟิลิปปินส์ 1,992,960.0 1,366,718.7 -626,241.3 558,194.3 507,636.8 -50,557.6 208,915.3 157,384.5 -51,530.8 -728,329.6 บรูไน 22.9 9.8 -13.1 75.4 -55.7 134.4 278.5 147.5 78.6

ส่วนแบ่งตลาดอาเซียนใน ASEAN+3

ศักยภาพสินค้าไทยใน ASEAN+3 ศักยภาพในการแข่งขัน สูงขึ้น ปานกลาง แย่ลง ยางพารา ผลิตภัณฑ์ไม้ ข้าว ยางและผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า น้ำมันปาล์มดิบ ยานพาหนะ ชิ้นส่วนประกอบ และอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย

Thank You! ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โทร : 02-697-6348-9 www.citsonline.utcc.ac.th