โดย นางสาวดวงรัตน์ อยู่ศรีเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
จากการสังเกตุของผู้วิจัย ซึ่งเป็น ครูผู้สอนรายวิชาการเงินส่วน บุคคล พบว่านักเรียนระดับชั้น ปวช.1 คำนวณการจัดทำ งบประมาณการเงินไม่ถูกต้อง ขาดทักษะทางการคำนวณ แยก การประมาณการรายรับ การ ประมาณการรายจ่าย และการสรุป งบประมาณ ส่งผลให้คะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่ กำหนดไว้
เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการเงินส่วนบุคคล เรื่อง การจัดทำงบประมาณการเงิน ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน โดยใช้แบบฝึกเสริมหลัง เลิกเรียน
ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของแบบ ฝึก แบบฝึกคะแนน ระหว่าง เรียน คะแนน หลัง เรียน ประสิทธิ ภาพ ของ แบบฝึก คะแนน เต็ม ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ของ ค่าเฉลี่ย / จากตารางที่ 1 พบว่า แบบฝึกเรื่องการ จัดทำงบประมาณการเงิน มีประสิทธิภาพ 83.05/85.43 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80
ค่าสถิ ติ N คะแ นน เต็ม X S.D.t-testsig ผล การ เรียน ก่อน เรียน **.000 หลัง เรียน ระดับนัยสำคัญ **p <.05 จากตารางที่ 2 พบว่า นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมหลังเลิกเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน โดยคะแนนก่อนเรียนเท่ากับ 9.33 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.85 คะแนนหลัง เรียนเท่ากับ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.58 เฉลี่ยเพิ่มขึ้น เท่ากับ และ 2.30 ค่า t เท่ากับ อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ.05
นักเรียนที่เรียนรายวิชาการเงิน ส่วนบุคคล เรื่อง การจัดทำ งบประมาณการเงิน โดยใช้แบบ ฝึกเสริมหลังเลิกเรียน มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ.05