การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
Advertisements

หลักการพัฒนา หลักสูตร
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ความพึงพอใจของผู้ประกอบการและ หัวหน้าหน่วยงานรัฐบาลต่อผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอุตรดิตถ์เทคโนโลยี นางรัตดา บัวใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
โดย ผู้วิจัย นางพรศิริ อูปคำ สังกัด โรงเรียนลำปางพาณิชยการและเทคโนโลยี
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โดย นางสกุลยา กุลธนบูรณกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ นักศึกษาแผนกพาณิชยการ สาขา การบัญชี ห้อง พบ.301 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 ผู้วิจัย นางอ้อยใจ แดงอินทร์

เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ นักศึกษาแผนกพาณิชยการ สาขา การบัญชี ห้อง พบ.301 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552

กรอบแนวความคิด ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วางแผนเพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ ดำเนินการพัฒนาตามแผน เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลงานวิจัย

ประชากร นักศึกษาแผนกพาณิชยการการบัญชี ห้อง พบ. 301 โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 20 คน กลุ่มตัวอย่าง กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม และผ่านเกณฑ์ระยะเวลาที่โรงเรียนกำหนด 80 เปอร์เซ็นต์ ของเวลาเรียนทั้งหมด

เครื่องมือเป็นแบบสอบถาม มี 2 ตอนคือ เครื่องมือเป็นแบบสอบถาม มี 2 ตอนคือ ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ ใน 5 ข้อ เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยให้ความหมายของระดับคะแนนดังนี้ 5 หมายถึง ระดับดีมาก 4 หมายถึง ระดับมาก 3 หมายถึง ระดับพอใช้ 2 หมายถึง ระดับน้อย 1 หมายถึง ระดับที่ต้องปรังปรุง

ตอนที่ 2 แบบสอบถามแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ นักศึกษาแผนก พาณิชยการ การบัญชี ห้อง พบ. 301 โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี(แลมป์-เทค) จังหวัดลำปางเป็นแบบสอบถามชนิดปลายเปิด (Open –Ended)

สรุปผลการวิจัย ข้อ ประเด็น ค่าเฉลี่ย S.D. ความหมาย 1 การมีส่วนร่วมของผู้เรียน 4.75 0.44 ดีเยี่ยม 2 ความเหมาะสมของระยะเวลา 4.15 0.81 ดีมาก 3 ความรู้ประโยชน์ที่ได้รับ 4.60 0.50 4 ฝึกความอดทน 4.55 0.51 5 การนำไปประยุกต์ใช้ในอนาคต สรุปโดยรวม 4.52 0.59

ผลกระทบที่เกิดขึ้น ผลการการวิจัยพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก ส่วนประเด็น การมีส่วนร่วมของผู้เรียน ในการวางแผนเพื่อให้มีกิจกรรมที่หลากหลาย อยู่ในระดับดีเยี่ยม ประเด็นความเหมาะสมของระยะเวลาและประโยชน์ที่ได้รับจากเนื้อหาการเรียนรู้ในการจัดกิจกรรมเสริม อยู่ในระดับ ดีมาก ตามลำดับ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า โรงเรียนมีนโยบายในการส่งเสริมการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนอย่างชัดเจน และใช้วิธีการมีส่วนร่วมของนักเรียน ร่วมคิดร่วมทำระหว่างครูกับผู้เรียน จึงทำให้เกิดความพึงพอใจ และความสำเร็จได้ในหลาย ๆ ประเด็น

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1. ควรเน้นการมีส่วนร่วมระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียนให้มากที่สุดเริ่มต้นจากการวางแผน การดำเนินการ รวมถึงการประเมินผล 2. การจัดกิจกรรมที่เน้นการออกนอกพื้นที่โรงเรียนเพื่อเรียนรู้ชุมชน สังคม วัด ศิลปะ และวัฒนธรรม เป็นสิ่งที่ควรทำเนื่องจากจะทำให้การเรียนรู้อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริงในสังคมมากกว่าการเรียนในห้องเรียน 3. ควรจัดทำวิจัยในเชิงคุณภาพควบคู่ไปกับการวิจัยเชิงสำรวจ