การดำเนินการ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ GFMIS

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าจอตู้ ATM ธนาคารกรุงไทย
Advertisements

1. ขั้นตอนการขออนุมัติหลักการ/ โครงการ
การใช้งานระบบสินค้าคงคลัง
การตรวจสอบการนำส่งเงินรายได้
แนวปฏิบัติการนำข้อมูล ระบบงานรายได้ On Web เข้าสู่ระบบ GFMIS ของศูนย์ต้นทุน ในภาค 8 แนวปฏิบัติการนำข้อมูล ระบบงานรายได้ On Web เข้าสู่ระบบ GFMIS ของศูนย์ต้นทุน.
แนวทางแก้ไขปัญหา ให้กับสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ.
วิธีการบันทึกรายการในระบบ GFMIS ผ่าน Web Online สำหรับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
ระบบ บัญชีแยกประเภททั่วไป
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
วัสดุคงคลัง กลุ่มงานบัญชี กองการเงินและบัญชี.
สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
งานที่เกี่ยวข้องกับระบบ GFMIS
การเบิกเกินส่งคืน.
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ระบบบัญชี.
การบันทึกรายการสินทรัพย์
กรมที่ดิน (1505) ชื่อบัญชี
กระบวนงานเงินทดรองราชการ
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
การจัดส่งรายงานด้านการเงินและบัญชี เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
ระบบเบิกจ่าย การ LOCK รายการตั้งเบิกกรณีที่มีค่าปรับ
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ
โดย พ.ต.ท.หญิง วาสนา สุวรรณเรืองศรี รอง ผกก.ฝ่ายบัญชี 3 กช.สงป.
การจัดทำงบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน การบันทึกบัญชีรายได้เงินนอกงบประมาณ
ข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.03 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
เงินอุดหนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
การเบิกเกินส่งคืน ปรับปรุง ณ.วันที่ 21 มิถุนายน 2548.
ตัวอย่างการบันทึกรายการของคำสั่งงาน ZJ9_502
รายงานระบบรับและนำส่ง (RP)
กองคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม งบประมาณเบิกแทนกัน.
โดย ส่วนวิชาการ สำนักงานคลังเขต 1 กรมบัญชีกลาง
ชี้แจงรายการข้ามปีงบประมาณ
Web Report.
ชี้แจงปัญหาการจ่ายเงินที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลหลักผู้ขาย
การตรวจสอบและการวิเคราะห์รายงานการเงิน สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย
แผนผัง (Flow Chart) ขั้นตอนการรายงาน แบบ M 1 – M 4
การตรวจสอบและปรับปรุงรายการบัญชี
การประชุมชี้แจง การปฏิบัติงานเรื่องการกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 พ.ศ.2557 ในวันพุธที่ 3 ธันวาคม 2557.
>>0 >>1 >> 2 >> 3 >> 4 >> เมนูแผนของบประมาณ แสดงวิธีการบันทึกข้อมูลหน้าระบบทีละขั้นตอน ข้อพิจารณา : ผู้สร้างต้องมีข้อมูล ดังนี้ - แผนปฏิบัติราชการ หรือโครงการภายใต้แผนปฏิบัติ
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
Payroll.
การจัดทำหนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ปี 2557
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) 1.
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) ออกใบรับแบบ 1.
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) กรณีเลือก ผู้รับเบี้ยหวัด / ประจำรอบที่ / ใบสรุปประจำรอบ 1.
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
ประชุมชี้แจง การระบุรหัส กิจกรรมย่อย โดย... คณะทำงานต้นทุนผลผลิต.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินการ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ GFMIS

1. เปิดบัญชีใหม่ (กระแสรายวัน) ชื่อบัญชี “รับเงิน UNDO (ชื่อส่วนราชการ)” ตัวอย่าง “รับเงิน UNDO (สำนักงานสรรพากรพื้นที่สระบุรี)” “รับเงิน UNDO (สำนักงานประมงจังหวัดสระบุรี)”

2. ขั้นตอนการรับเงิน 2.1 เมื่อรับเงินให้ออกใบเสร็จรับเงิน (บันทึกใน e-Pension) 2.2 สิ้นวันสรุปยอดเงินที่ได้รับในวันนั้น บันทึกรับเงินในระบบ GFMIS โดยใช้แบบฟอร์ม บช01 ประเภท RE

(Pay in A) 3. ขั้นตอนการนำฝากเงิน 3.1 นำเงิน (ตามข้อ 2.2) ฝากเข้าบัญชีธนาคารที่เปิดไว้ (ตามข้อ 1) โดยนำฝากในวันที่ได้รับเงินหรืออย่างช้าภายในวันทำการถัดไป โดยใช้ใบนำฝากเงินดังรูป (Pay in A)

(Pay in A) 3. ขั้นตอนการนำฝากเงิน 3.2 นำใบนำฝากเงินจากธนาคาร (ตามข้อ 3.1) บันทึกในระบบ e-Pension และระบบ GFMIS ด้วยแบบฟอร์ม บช01 ประเภท JR (Pay in A)

4. ขั้นตอนการถอนเงินจากบัญชีธนาคารของส่วนราชการเพื่อนำเงินส่งคลังจังหวัด ทุกวันที่ 1 และ 16 ของเดือน ยืนยันข้อมูลการรับเงินประจำรอบ เพื่อสรุปยอดเงินและถอนเงินจากบัญชี UNDO ของ สรก. นำฝากเข้าบัญชีของคลังจังหวัด

“กระทรวงการคลัง ผ่านสนง.คลังจังหวัดสระบุรี” 4. ขั้นตอนการถอนเงินจากบัญชีธนาคารของส่วนราชการเพื่อนำเงินส่งคลังจังหวัด 4.1 ถอนเงินจากบัญชีรับเงิน UNDO ของส่วนราชการที่สรุปแต่ละรอบนำฝากเข้าบัญชีของคลังจังหวัดโดยเขียนเช็คสั่งจ่าย “กระทรวงการคลัง ผ่านสนง.คลังจังหวัดสระบุรี”

ได้รับใบ Pay in TR จากธนาคาร 4. ขั้นตอนการถอนเงินจากบัญชีธนาคารของส่วนราชการเพื่อนำเงินส่งคลังจังหวัด 4.2 จัดทำใบนำฝาก Pay in Slip (บาโค้ด) ตามรูปแบบที่ บก. กำหนด และนำเงินดังกล่าวฝากเข้าบัญชีคลังจังหวัด ได้รับใบ Pay in TR จากธนาคาร

ต้องเลือก “เงินฝากคลัง” เท่านั้น ตัวอย่างใบนำฝากธนาคาร (Pay in TR) (Pay in TR) ต้องเลือก “เงินฝากคลัง” เท่านั้น

การนำส่งเงินส่งคลัง 1. ใช้ใบ Pay-in กรมบัญชีกลาง รหัสศูนย์ต้นทุน 03004A0010 2. ระบุประเภทเงินที่นำฝากเป็นเงินฝากคลัง 3. ตรวจสอบรายการในใบรับเงิน(Deposite Receipt) ที่ได้รับจากธนาคารให้ถูกต้องกับรายการนำฝาก กรณีตรวจสอบพบข้อผิดพลาด ให้แจ้งธนาคารแก้ไขภายในวันที่นำฝาก

ตัวอย่างใบรับเงิน (Deposit Receipt) (Pay in TR)

4. ขั้นตอนการถอนเงินจากบัญชีธนาคารของส่วนราชการเพื่อนำเงินส่งคลังจังหวัด 4.3 นำใบ Pay in TR บันทึกในระบบ e-Pension และระบบ GFMIS ด้วยแบบฟอร์ม บช01 ประเภท PP

นำส่งเอกสารประจำรอบ (ส่งตามปฏิทินการส่งข้อมูลรายรอบ – ตามคู่มือฯ) - ทุกวันที่ 1 และ 16 รวบรวมเอกสารใส่แฟ้มประจำรอบพร้อมใบ Pay in TR (ถ้ามี) ส่งคลังจังหวัด ภายใน 3 ทำการ - การบันทึกรับรู้รายได้เป็นหน้าที่ของคลังจังหวัดดำเนินการแทนส่วนราชการ

ขั้นตอนการดำเนินการ ขั้นตอน การดำเนินการ 1. รับเงินจากข้าราชการบำนาญที่เข้าโครงการ กบข. UNDO บันทึกรายการ ด้วยคำสั่งงาน บช.01 ประเภทเอกสาร RE 2. นำเงินที่ได้รับตาม ข้อ 1. ฝากเข้าบัญชีกระแสรายวัน กบข. UNDO (ชื่อส่วนราชการ) ภายในเวลาที่กำหนด - บันทึกรายการ ด้วยคำสั่งงาน บช.01 ประเภทเอกสาร JR 3. เมื่อครบกำหนดเวลาที่กำหนดให้นำเงินส่งคลัง นำเงินส่งคลังเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของ สำนักงานคลังจังหวัด โดยใช้ใบนำฝากเงินของกรมบัญชีกลาง รหัสศูนย์ต้นทุน 03004A0010 และระบุประเภทเงินที่นำฝากเป็นเงินฝากคลัง - บันทึกรายการ ด้วยคำสั่งงาน บช.01 ประเภทเอกสาร PP

การเข้าสู่ระบบ GFMIS

หน้าจอหลัก

การบันทึกรายการ บช.01

การบันทึกรายการ บช.01

รหัสต่างๆ ในการบันทึก บช01 RE เดบิต เงินสด (รหัสบัญชีแยกประเภท 1101010101) เครดิต เงินรับฝากอื่น (รหัสบัญชีแยกประเภท 2111020199) ระบุรหัสต่างๆ ดังนี้ รหัสศูนย์ต้นทุนในระบบ GFMIS XXXXXXXXXX (10 หลัก) แหล่งของเงิน 5831000 (7 หลัก) รหัสงบประมาณ (5 หลักแรกของรหัสศูนย์ต้นทุน) XXXXX (5 หลัก) กิจกรรมหลัก P1900 (5 หลัก) (การอ้างอิง – เป็นเอกสารควบคุมภายในของหน่วยงานใส่ได้ 16 หลัก)

รหัสต่างๆ ในการบันทึก บช01 JR เดบิต เงินฝากไม่มีรายตัว (รหัสบัญชีแยกประเภท 1101030199) เครดิต เงินสด (รหัสบัญชีแยกประเภท 1101010101) ระบุรหัสต่างๆ ดังนี้ รหัสศูนย์ต้นทุนในระบบ GFMIS XXXXXXXXXX (10 หลัก) แหล่งของเงิน 5831000 (7 หลัก) รหัสงบประมาณ (5 หลักแรกของรหัสศูนย์ต้นทุน) XXXXX (5 หลัก) กิจกรรมหลัก P1900 (5 หลัก) (การอ้างอิง – เป็นเอกสารควบคุมภายในของหน่วยงานใส่ได้ 16 หลัก)

รหัสต่างๆ ในการบันทึก บช01 PP เดบิต เงินรับฝากอื่น (รหัสบัญชีแยกประเภท 2111020199) เครดิต เงินฝากไม่มีรายตัว (รหัสบัญชีแยกประเภท 1101030199) ระบุรหัสต่างๆ ดังนี้ รหัสศูนย์ต้นทุนในระบบ GFMIS XXXXXXXXXX (10 หลัก) แหล่งของเงิน 5831000 (7 หลัก) รหัสงบประมาณ (5 หลักแรกของรหัสศูนย์ต้นทุน) XXXXX (5 หลัก) กิจกรรมหลัก P1900 (5 หลัก) (การอ้างอิง – เป็นเอกสารควบคุมภายในของหน่วยงานใส่ได้ 16 หลัก)