จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
Advertisements

แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่อง กระดาษทำการ 8 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
โดย ผู้วิจัย นางพรศิริ อูปคำ สังกัด โรงเรียนลำปางพาณิชยการและเทคโนโลยี
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โดย นางสกุลยา กุลธนบูรณกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ชื่อเรื่อง การใช้แนวการสอนพหุประสาทสัมผัสเพื่อส่งเสริมความสามารถทางการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวปวีณา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา การพัฒนาระบบแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะด้านการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาโรงเรียนพณิชยการลานนาเชียงใหม่ จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร

ปัญหาการวิจัย การเรียนการสอนของโรงเรียนพณิชยการลานนาเชียงใหม่ได้เน้นทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ จากการมุ่งเน้นทักษะด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษพบว่านักศึกษาจำนวน 60% ของนักศึกษาทั้งหมดสามารถเข้าใจและมีความรู้ทางด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษพอสมควร โดยวัดผลจากการสอบผ่านเกณฑ์ประเมินและวัดผล นักศึกษาจำนวน 40% ของนักศึกษาทั้งหมดยังไม่เข้าใจและไม่สามารถนำภาษาอังกฤษมาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารได้ ทางโรงเรียนจึงมีการนำแบบทดสอบวินิจฉัยเข้ามาช่วยวิเคราะห์สาเหตุและข้อบกพร่องว่านักศึกษามีความรู้หรือขาดความรู้ในส่วนใด วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

ปัญหาการวิจัย ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงพัฒนาระบบแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาโรงเรียนพณิชยการลานนาเชียงใหม่ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการพัฒนาให้เป็นแบบทดสอบวินิจฉัยออนไลน์ เพื่อทำให้ทราบข้อบกพร่องด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในแต่ละด้านของนักศึกษาสำหรับนำมาใช้ในการปรับการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับนักศึกษาแต่ละคน วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาระบบแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาโรงเรียนพณิชยการลานนาเชียงใหม่ 2. เพื่อทำให้ทราบข้อบกพร่องของนักศึกษาด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับนำไปปรับปรุงการเรียนการสอนและการสอนซ่อมเสริม วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา การใช้งานระบบแบบทดสอบ วินิจฉัย - การสร้างแบบทดสอบที่มี คุณภาพ - การทำแบบทดสอบออนไลน์ - การวิเคราะห์ข้อบกพร่อง ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้ ระบบแบบทดสอบวินิจฉัย ข้อบกพร่องของนักศึกษาด้าน การสื่อสารภาษาอังกฤษ การเรียนการสอนที่เหมาะสมกับ นักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และเครื่องมือ 1. ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร อาจารย์ และนักศึกษาของโรงเรียนพณิชยการลานนาเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 1,954 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร อาจารย์ จำนวน 4 คนและนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ของโรงเรียนพณิชยการลานนาเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 450 คน 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ระบบแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะด้านการสื่อสาร แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ลักษณะการใช้งานในระบบ ค่าเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจ 1. มีความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ 4.03 มาก 2. ความสวยงามของการออกแบบหน้าจอ 3.97 3. หน้าจอง่ายต่อการนำไปใช้งาน 4.43 4. ความสะดวกในการจัดการข้อมูล ได้แก่ เพิ่ม ลบ แก้ไข 4.37 5. การออกแบบรายงานสารสนเทศง่ายต่อการนำไปใช้งาน 4.07 6. คู่มือการใช้โปรแกรมมีความชัดเจนและเข้าใจง่าย 4.47 7. ความถูกต้องในการประมวลผลของระบบ 4.53 มากที่สุด 8. ความเร็วในการแสดงผลของระบบ 4.27 9. ข้อมูลสารสนเทศตรงตามความต้องการใช้งาน 4.23 10. ช่วยลดขั้นตอนจากการทำงานของระบบเดิม 4.5 ความพึงพอใจโดยภาพรวม 4.29

สรุปผลการวิจัย ระบบแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาโรงเรียนพณิชยการลานนาเชียงใหม่ ทำให้ระบบงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นและสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้ โดยสามารถลดขั้นตอนการทำงานที่ซับซ้อนทำให้ลดระยะเวลาและมีความถูกต้องในการทำงานมากขึ้นเช่น การออกแบบทดสอบ การประกาศผลสอบทันทีเป็นต้น วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

สรุปผลการวิจัย ผู้บริหารและอาจารย์สามารถนำข้อมูลที่ได้จากการดำเนินงานมาช่วยในการวางแผนการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

จบการนำเสนอ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา