ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

ทฤษฎีใหม่.
วิชานวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยี
สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันเศรษฐกิจเป็นสถาบันที่ทำหน้าที่ช่วยสนองความต้องการของบุคคลในสังคมทั้งในด้านสิ่งบริโภคและอุปโภค ในสังคมที่แตกต่างกัน.
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
เศรษฐกิจของประเทศไทย
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
บทที่ 5 ทรัพย์.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
Energy and the environment พลังงานและสิ่งแวดล้อม
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
แนวคิดการเพิ่มผลผลิต Productivity Concept
เกษตรทฤษฎีใหม่.
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ต้นทุนการผลิต.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
บทที่1 การบริหารการผลิต
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่ คาดหวัง อธิบายกิจกรรมการผลิต ของมนุษย์ขั้นทุติยภูมิได้ 2.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์ 10/01/54 ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์ PowerPoint เรื่อง ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์และการผลิต

ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) ทรัพยากรมนุษย์ หมายถึง จำนวนประชากรทั่วไป และคุณภาพ ของประชากร ถือว่าเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญมากกว่าปัจจัยอื่น เพราะหากปราศจากมนุษย์แล้ว การผลิตสินค้าและบริการในระบบเศรษฐกิจจะไม่เกิดขึ้น

ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ 10/01/54 ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ 2) ทรัพยากรที่ไม่ใช่มนุษย์ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ - ทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ อากาศ แร่ธาตุ เป็นต้น - ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น เครื่องมือ เครื่องจักร สิ่งของต่างๆที่สามารถจับต้องได้ ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปัจจัยการผลิต PowerPoint เรื่อง ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์และการผลิต

การผลิต การผลิต ในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง กระบวนการแปรสภาพทรัพยากร (ปัจจัยการผลิต) ที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เป็นสินค้าหรือบริการที่มีประโยชน์ทางเศรษฐกิจขึ้นมาใหม่ โดยทำให้สิ่งของหรือบริการมีมูลค่าเพิ่มมากขึ้นและสามารถบำบัด ความต้องการของมนุษย์ได้ กระบวนการผลิต เป็นกระบวนการที่นำวัตถุดิบมาแปรสภาพเป็นผลผลิต เช่น โรงสีข้าว จะนำข้าวเปลือกมาสีเป็นข้าวสาร

ปัจจัยการผลิต

ปัจจัยการผลิต ปัจจัยการผลิต ในทางเศรษฐศาสตร์ได้มีการแบ่งปัจจัยการผลิต ออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1) ที่ดิน คือ พื้นดินที่ใช้ในการเพาะปลูกหรือใช้ประกอบกิจการต่างๆ เช่น ใช้เป็นที่ตั้งโรงงาน รวมไปถึงทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดใต้ดิน บนดิน หรือเหนือพื้นดินเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แร่ธาตุ ป่าไม้ อากาศ โดยมีผลตอบแทนของผู้เป็นเจ้าของที่ดิน คือ “ค่าเช่า”

ปัจจัยการผลิต 2) ทุน ปัจจัยเกี่ยวกับทุนมี 2 แบบ คือ วัตถุทุน และเงินทุน - วัตถุทุน หมายถึง เครื่องมือเครื่องใช้ประเภทต่างๆที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อ ทุ่นแรงในการผลิตสินค้าและบริการ เช่น เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์การผลิต โรงงาน เป็นต้น - เงินทุน คือ จำนวนเงินที่นำไปซื้อหา หรือทำให้ได้มาซึ่งวัตถุทุนประเภทต่างๆ หรือจ่ายเป็นค่าจ้าง ค่าวัตถุดิบ โดยผลตอบแทนที่เจ้าของเงินทุนได้รับ เรียกว่า “ดอกเบี้ย”

ปัจจัยการผลิต 3) แรงงาน สินค้าและบริการต่างๆ ถ้าขาดแรงงานของมนุษย์ สินค้าและบริการเหล่านั้นจะมีขึ้นไม่ได้ ซึ่งแรงงานสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ - แรงงานฝีมือ เป็นแรงงานที่ได้รับการอบรมความรู้เฉพาะทางมาเป็นอย่างดี - แรงงานไร้ฝีมือ เป็นแรงงานที่ไม่ได้รับการอบรมความรู้เฉพาะทางมาก่อน ผลตอบแทนที่เจ้าของแรงงานได้รับเราเรียกว่า “ค่าจ้าง” หรือ “เงินเดือน”

ปัจจัยการผลิต 4) ผู้ประกอบการ คือ ผู้รวบรวมปัจจัยในการผลิต ได้แก่ ที่ดิน ทุน แรงงาน มาผลิตสินค้าและบริการสนองความต้องการของผู้บริโภค ผู้ประกอบการอาจจะเป็นหน่วยงาน บริษัท ห้างร้าน หรือเอกชนเพียงคนเดียวก็ได้ ผลตอบแทนที่ผู้ประกอบการได้รับเราเรียกว่า “กำไร” หรืออาจจะ “ขาดทุน”

ลำดับขั้นในการผลิต สามารถแบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การผลิตขั้นปฐมภูมิ เป็นการผลิตขั้นต้น โดยอาศัยทรัพยากรธรรมชาติ เป็นหลัก ซึ่งการผลิตขั้นปฐมภูมิมักจะใช้ทรัพยากรธรรมชาติโดยตรง เช่น การทำไร่ ทำสวน การเลี้ยงสัตว์ โดยอาศัยเครื่องมือ ประเภท จอบ เสียม หรือแรงงานจาก วัว ควาย

ลำดับขั้นในการผลิต 2) การผลิตขั้นทุติยภูมิ จะอาศัยวัตถุดิบ เครื่องจักรกลโรงงาน และการจัดองค์กรขนาดใหญ่ เช่น โรงงานผลิตผลไม้กระป๋อง จะนำเอาผลไม้จากสวน อันเป็นผลผลิตขั้นปฐมภูมิมาแปรรูปจนผลิตออกมาเป็นผลไม้กระป๋อง

ลำดับขั้นในการผลิต 3) การผลิตขั้นตติยภูมิ เป็นการผลิตขั้นสุดท้ายในลักษณะที่เป็นในการให้บริการคอยให้ความสะดวกสบาย คือ ทำการเคลื่อนย้ายไปสู่ผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการขนส่ง การธนาคาร เป็นต้น

คุณธรรมของผลิต ผู้ผลิตควรมีคุณธรรมพื้นฐานเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค และเพื่อผลประโยชน์ในระยะยาวของผู้ผลิตเอง ดังนี้ มีความกลัวและละอายในการทำสิ่งที่ไม่ถูกต้องทั้งปวง ให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้บริโภค มีความซื่อสัตย์ ไม่หลอกลวงหรือเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคไม่ว่ากรณีใดๆ มีความขยันมั่นเพียรที่จะพัฒนาสินค้า ร่วมมือกันรักษาสิ่งแวดล้อม

ลองคิดดูนะคะ ข้อใดเป็นทรัพย์ที่แตกต่างจากข้ออื่น ก. น้ำฝน ข. น้ำทะเล ค. น้ำคลอง ง. น้ำประปา

ลองคิดดูนะคะ ปัจจัยการผลิตในข้อใดที่มีความสำคัญมากที่สุด ก. ที่ดิน ข. ทุน ค. แรงงาน ง. ผู้ประกอบการ