ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนโดยใช้องค์ความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ PISA ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วัตถุประสงค์ เพื่อนำองค์ความรู้จากการเข้า ร่วมโครงการ PISA มาใช้ยกระดับ คุณภาพการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ ของนักเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าร่วมโครงการ PISA ปี 2558 และ 2561
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายในการสอบ PISA ปี พ.ศ. 2558 นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียน ที่กำลังเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 3 ในปีการศึกษา 2556 ปี พ.ศ. 2561 นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียน ที่กำลังเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึง 5 ในปีการศึกษา 2556
เป้าหมายความสำเร็จ ปี พ.ศ.2558 และ ปี พ.ศ.2561 อยู่ในอันดับที่ดีขึ้น ผลการทดสอบ PISA ของนักเรียนไทย ปี พ.ศ.2558 และ ปี พ.ศ.2561 อยู่ในอันดับที่ดีขึ้น
ผลการประเมินPISA ปี 2000 – 2012 และเป้าหมายที่คาดหวัง
ด้านการอ่าน รายการ ผลปี เป้าหมายปี 2543 2546 2549 2552 2555 2558 2561 ลำดับที่ OECD - ไทย 32/41 35-36/41 41-42/57 47-51/65 45-51/65 39/65 25/65 คะแนนเฉลี่ย 500 494 492 493 496 431 420 417 421 441 470 ร้อยละของนักเรียน ที่ได้คะแนนต่ำกว่าระดับ 2 17.9 19.4 20.1 19.7 18.6 37.0 44.0 44.6 42.8 33.0 25 10 ที่ได้คะแนนระดับ 5 ขึ้นไป 9.5 8.3 8.6 8.0 0.5 0.3 0.9 2.0 5.0
ด้านคณิตศาสตร์ รายการ ผลปี เป้าหมายปี 2543 2546 2549 2552 2555 2558 2561 ลำดับที่ OECD - ไทย 32/41 34-35/41 43-46/57 48-52/65 49-52/65 40/65 35/65 คะแนนเฉลี่ย 500 498 496 494 432 417 419 427 460 ร้อยละของนักเรียน ที่ได้คะแนนต่ำกว่าระดับ 2 * 21.4 21.3 24.8 26.1 54.0 53.0 52.5 49.7 35 20 ร้อยละของนักเรียน ที่ได้คะแนนระดับ 5 ขึ้นไป 14.6 13.3 11.7 11.8 1.7 1.3 2.5 5.0 8.0
ด้านวิทยาศาสตร์ รายการ ผลปี เป้าหมายปี 2543 2546 2549 2552 2555 2558 2561 ลำดับที่ OECD - ไทย 32/41 34-36/41 44-47/57 47-49/65 44-49/65 38/65 25/65 คะแนนเฉลี่ย 500 501 436 429 421 425 444 470 ร้อยละของนักเรียน ที่ได้คะแนนต่ำกว่าระดับ 2 * 19.3 20.0 19.4 46.1 42.8 33.6 25 10 ที่ได้คะแนนระดับ 5 ขึ้นไป 9.0 8.4 8.1 0.4 0.6 0.9 2.0 5.0
แผนยุทธศาสตร์ มาตรการดำเนินงาน ปี 2557 แผนยุทธศาสตร์ มาตรการดำเนินงาน ปี 2557
มาตรการ 1 การสร้างความตระหนักให้กับผู้บริหารการศึกษาจากส่วนกลาง จากเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหารการศึกษาจากหน่วยงานอื่น คณาจารย์จากสถาบันอุดมศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ตลอดจนครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง และสังคมทั่วไป ให้มีความรู้ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและความสำคัญของการเข้าร่วมโครงการ PISA ของประเทศไทย
กิจกรรมดำเนินงานตามมาตรการที่ 1 1. การจัดทำหลักสูตรอบรมเชิงลึกการจัดการเรียนรู้ตามแนว PISA เข้าสู่ห้องเรียน 1.1 จัดทำหลักสูตรที่ครอบคลุมด้านการอ่าน (Reading) ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics) ด้านวิทยาศาสตร์ (Science) 1.2 นิเทศติดตามอย่างต่อเนื่องโดยส่วนกลางและเขตพื้นที่การศึกษา/ผู้บริหาร
มาตรการ 2 การสร้างข้อสอบ จัดทำคลังข้อสอบตามแนว PISA การสร้างระบบการสอบและการประมวลการสอบ บนระบบออนไลน์
กิจกรรมดำเนินงานตามมาตรการที่ 2 1. การสร้างข้อสอบตามแนว PISA 1.1 การจัดทำ จัดหา จัดสร้างข้อสอบตามแนว PISA 1.2 การจัดทำคลังข้อสอบ 1.3 การวัดศักยภาพของ ผู้เรียนผ่านระบบออนไลน์ 1.4 การอบรมการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลตามแนว PISA
กิจกรรมดำเนินงานตามมาตรการที่ 2 (ต่อ) 2. การนำข้อสอบตามแนว PISA ไปใช้เป็นข้อสอบกลางปลายปี/ปลายภาค -- การจัดทำแนวปฏิบัติ/มาตรการในการนำข้อสอบไปใช้เป็นข้อสอบกลางปลายปี/ปลายภาค
มาตรการ 3 การสร้างบทอ่านและการสร้างแบบฝึกเพื่อพัฒนาศักยภาพ การอ่าน คิดวิเคราะห์ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
กิจกรรมดำเนินงานตามมาตรการที่ 3 1. การสร้างบทอ่านและการสร้างแบบฝึกเพื่อพัฒนาศักยภาพในการอ่าน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และศักยภาพในการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา 1.1 การสร้างบทอ่านและการสร้างแบบฝึกการอ่าน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 1.2 การสร้างความรู้ความเข้าใจให้ครูสามารถใช้บทอ่านและแบบฝึกไปใช้ในการพัฒนานักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. จัดทำคลังรวบรวมบทอ่าน แบบฝึกโดยจัดจ้างสร้างบทอ่าน แบบฝึก
มาตรการ 4 การพัฒนาแบบทดสอบวัดระดับความสามารถในการอ่าน และเขียนภาษาไทย (Proficiency test)
มาตรการ 5 การส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนกลุ่มที่มีผลการสอบ PISA ปี 2555 ต่ำ
กิจกรรมดำเนินงานตามมาตรการที่ 5 - พัฒนาโรงเรียนสังกัดต่าง ๆ ที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย
มาตรการ 6 การสร้างความเข้มแข็งของการกำกับ ติดตาม และประเมินผล ให้เป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมดำเนินงานตามมาตรการที่ 6 1. ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานเครือข่ายประสิทธิภาพการจัดการศึกษาทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 2. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติอย่างเป็นระบบโดยคณะทำงานแบบบูรณาการและผ่านระบบ Online 3. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงาน
เราจะทำอย่างไร? เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาและยกระดับสมรรถนะด้านต่าง ๆ ตามแนว PISA
ครู นักเรียน
ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งจำเป็นในการทำแบบทดสอบของ PISA 2015
ลักษณะการตอบคำถามโดยใช้คอมพิวเตอร์ในการสอบ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์จึงเป็นสิ่งจำเป็นในการทำแบบทดสอบของ PISA 2015 คลิกเลือกคำตอบ พิมพ์คำตอบ ใช้เมาส์ลากและวางคำตอบ คลิกเลือกคำตอบ