โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจด้านสำรวจทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข้อมูลจำเพาะดาวเทียม SMMS มีวงโคจรลักษณะ Sun-Synchronous ที่ ความสูง 649 กิโลเมตร กล้อง CCD 4 แถบ ความถี่ (NIR, Red, Green, Blue) ที่ความ ละเอียด 30 เมตร ต่อจุด ความกว้าง ของภาพ 711 กิโลเมตร กล้อง Hyper- Spectrum (HSI) มี แถบความถี่ 115 ความถี่ ที่ความ ละเอียด 100 เมตร ต่อจุด ความกว้าง ของภาพ 51 กิโลเมตร ดาวเทียม SMMS ภาพถ่ายดาวเทียมจาก กล้อง CCD ภาพถ่ายดาวเทียมจากกล้อง Hyper-Spectrum
โอกาสในการถ่ายภาพประเทศไทยของ ดาวเทียม SMMS ซอฟต์แวร์สำหรับคำนวณวงโคจร
ความครอบคลุมในการรับภาพถ่ายดาวเทียม ของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์
ภาพถ่ายดาวเทียมชุดแรกจากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีทั้งสิ้น 18 ภาพ รับได้ ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 10.44 น. (ครอบคลุมตั้งแต่ประเทศจีนตอนล่าง ถึงอินโดนิเซีย)
ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ CCD ต่างกันเพียง 2.16 เปอร์เซ็นต์ ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม ThEOS ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม SMMS ช่วงเดือนมีนาคม 2553 ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ข้อมูลการวิเคราะห์แหล่งน้ำในเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ ด้วยดาวเทียม SMMS 2009/03/06 2009/04/02 2009/05/22 2009/11/10 2009/11/14 2010/01/04 2010/01/15 2010/01/19 ที่มา: กรมทรัพยากรน้ำ
ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ HSI พื้นที่ตัวอย่าง วิธีการจำแนก เปอร์เซ็นความถูกต้อง %ข้าว %อื่นๆ %รวม Parallelepiped 62.03 96.86 94.37 Minimum Distance 63.81 97.16 94.77 Mahalanobis Distance 68.86 93.42 91.66 Maximum Likelihood 68.32 93.71 91.89 Spectral Angle Mapper 50.74 98.66 95.24 Spectral Information Divergence 47.62 95.47 92.05 Binary Encoding 37.16 95.72 91.54 ข้อมูล Ground Truth จากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ข้อมูลจากการแยกแยะด้วยภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ HSI ที่มา: งานวิจัยร่วมระหว่างศูนย์ฯ กับกระทรวง ICT
ที่มา: งานวิจัยร่วมระหว่างศูนย์ฯ กับกระทรวง ICT
ตัวอย่าง Dynamic Hazard Map ในพื้นที่จังหวัดอุตรดิษฐ์ Susceptibility Map (Weighting Method) APIer Map Hazard Map created by APIt Map that update from satellite image factor (Rainfall Landuse Elevator and Slop) ที่มา: งานวิจัยร่วมระหว่างศูนย์ฯ กับกระทรวง ICT
ลุ่มน้ำย่อยห้วยน้ำริด ตำบลน้ำหมัน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ 13 สิงหาคม 2553 เวลา 13.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 14.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 15.00 น. ลุ่มน้ำย่อยห้วยน้ำริด ตำบลน้ำหมัน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ 13 สิงหาคม 2553 เวลา 16.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 17.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 18.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 19.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 20.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 21.00 น. ปริมาณน้ำฝนสะสม 24 ชั่วโมง
ลุ่มน้ำย่อยห้วยน้ำริด ตำบลน้ำหมัน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ 13 สิงหาคม 2553 เวลา 13.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 14.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 15.00 น. ลุ่มน้ำย่อยห้วยน้ำริด ตำบลน้ำหมัน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ 13 สิงหาคม 2553 เวลา 16.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 17.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 18.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 19.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 20.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 21.00 น. ระดับอ่อนไหวต่อดินถล่ม อ่อนไหวต่ำมาก อ่อนไหวต่ำ อ่อนไหวปานกลาง อ่อนไหวสูง อ่อนไหวสูงมาก
ลุ่มห้วยแม่งอน ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 13 สิงหาคม 2553 เวลา 19.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 20.00 น. ลุ่มห้วยแม่งอน ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 13 สิงหาคม 2553 เวลา 21.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 22.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 23.00 น. 14 สิงหาคม 2553 เวลา 00.00 น. ปริมาณน้ำฝนสะสม 24 ชั่วโมง
ลุ่มห้วยแม่งอน ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 13 สิงหาคม 2553 เวลา 19.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 20.00 น. ลุ่มห้วยแม่งอน ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 13 สิงหาคม 2553 เวลา 21.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 22.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 23.00 น. 14 สิงหาคม 2553 เวลา 00.00 น. ระดับอ่อนไหวต่อดินถล่ม อ่อนไหวต่ำมาก อ่อนไหวต่ำ อ่อนไหวปานกลาง อ่อนไหวสูง อ่อนไหวสูงมาก
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อดินถล่มด้วยภาพถ่ายดาวเทียม: ความลาดชันของพื้นที่ ตัวอย่าง Slop Image ณ บริเวณดอยอิน ทนนท์ ตัวอย่างการจำแนก ความลาดชันที่ มากกว่า 35 องศา บริเวณดอยอิน ทนนท์ ในรูปแบบ 2 มิติ (ใช้ภาพถ่าย ดาวเทียม SMMS ใน วันที่ 4 มีนาคม 2553) ที่มา: งานวิจัยของศูนย์ฯ ให้กับศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
ที่มา: ตัวอย่างงานวิจัยร่วมระหว่างศูนย์ฯ กับสำนักงานฝนหลวง
ตัวอย่างงานวิจัย ในการติดตามสภาพการใช้ประโยชน์พื้นที่ชลประทานของเขื่อนแควน้อย (ร่วมกับกรมชลประทาน)
Thank You for Your Attention Question?? facebook.com/SMMSThailand