งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย
โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2 ข้อมูลจำเพาะดาวเทียม SMMS
มีวงโคจรลักษณะ Sun-Synchronous ที่ ความสูง 649 กิโลเมตร กล้อง CCD 4 แถบ ความถี่ (NIR, Red, Green, Blue) ที่ความ ละเอียด 30 เมตร ต่อจุด ความกว้าง ของภาพ 711 กิโลเมตร กล้อง Hyper- Spectrum (HSI) มี แถบความถี่ 115 ความถี่ ที่ความ ละเอียด 100 เมตร ต่อจุด ความกว้าง ของภาพ 51 กิโลเมตร ดาวเทียม SMMS ภาพถ่ายดาวเทียมจาก กล้อง CCD ภาพถ่ายดาวเทียมจากกล้อง Hyper-Spectrum

3 โอกาสในการถ่ายภาพประเทศไทยของ ดาวเทียม SMMS

4 ตัวอย่างการถ่ายภาพพื้นที่ประเทศไทยของดาวเทียม SMMS ภายในครั้งเดียว
4/1/10 14/11/09 19/11/09

5 ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ CCD
ต่างกันเพียง 2.16 เปอร์เซ็นต์ ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม ThEOS ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม SMMS ช่วงเดือนมีนาคม 2553 ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

6 ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ CCD
กรมทรัพยากรน้ำ นำไปใช้ทดแทน ข้อมูลดาวเทียม LANDSAT และ MODIS เพื่อวิเคราะห์ความแห้งแล้ง ของพื้นที่ ซอฟต์แวร์ประมวลผลข้อมูลความแห้งแล้งของพื้นที่ ที่มา: กรมทรัพยากรน้ำ

7 ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ HSI
พื้นที่เพาะปลูกข้าว จากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ภาพถ่ายบริเวณที่ทำการตรวจสอบในจังหวัดพะเยา การแยกแยะข้าวด้วยภาพถ่ายดาวเทียม SMMS มีความถูกต้อง เปอร์เซ็นต์

8 สภาวะภัยพิบัติกับภาพถ่ายดาวเทียมสำรวจโลก
Prevention Respond Recovery Restore จัดทำแผนที่โอกาสเกิดภัยพิบัติหรือประเมินปัจจัยเสี่ยงภัย ติดตามสภาวะการฟื้นฟู จำลองสถานการณ์และประเมินพื้นที่เสี่ยงภัย ประเมินพื้นที่เสียหาย

9 การสร้างแผนที่โอกาสเกิดภัยพิบัติ

10 ตัวอย่าง Dynamic Hazard Map ในพื้นที่จังหวัดอุตรดิษฐ์
Susceptibility Map (Weighting Method) APIer Map Hazard Map created by APIt Map that update from satellite image factor (Rainfall Landuse Elevator and Slop)

11 การประเมินความชุ่มชื้นในดิน ด้วยภาพถ่าย HSI บนดาวเทียม SMMS เพื่อใช้การวิเคราะห์ภัยพิบัติ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างย่านความถี่และความชุ่มชื้นในดินที่ระยะความลึก (ที่ระยะ 30 และ 60 เซนติเมตร)

12 การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการประเมินการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่และลุ่มน้ำ
จากรูป จะเห็นได้ว่า บริเวณพื้นที่รอบเขื่อน จะมีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน นั้นคือ พื้นที่ที่เป็นป่าไม้ มีการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งโดยปกติ การตรวจจับการเปลี่ยนแปลงสามารถทำได้โดยใช้ ซอฟต์แวร์ประมวลผล ในการวิเคราะห์ Change Detection ที่สามารถตรวจสอบได้ทั้งพื้นที่ป่าไม้ หรือลุ่มน้ำ ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 14 พ.ย. 2552 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 4 ม.ค. 2553 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2553

13

14

15 ข้อมูลการวิเคราะห์แหล่งน้ำในเขื่อนศรีนครินทร์ ด้วยดาวเทียม SMMS (จากกรมทรัพยากรน้ำ)
2009/03/06 2009/04/02 2009/05/22 2009/11/10 2009/11/14 2010/01/04 2010/01/15 2010/01/19

16 การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการสื่อสารโทรคมนาคม
สามารถนำ ข้อมูลภาพถ่าย ดาวเทียมไปใช้ ในการวาง แผนการสร้าง ระบบสื่อสารใน หลายๆ หน่วยงาน เช่น หน่วยงานความมั่นคง TOT, CAT การรถไฟแห่งประเทศไทย การไฟฟ้า การประปา ตำแหน่งติดตั้งอุปกรณ์สื่อสาร ตัวอย่างการวางแผนการติดตั้งโครงข่ายสื่อสารตามเส้นทางรถไฟ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

17 การบูรณาการข้อมูล CCD ของดาวเทียม SMMS ร่วมกับข้อมูล GDEM และข้อมูล GIS พื้นฐาน
การออกแบบติดตั้ง ระบบสื่อสารสำรอง การจำลอง สถานการณ์ น้ำ

18 ข้อมูลอ้างอิง/แนวคิด
1.ซอฟต์แวร์ KU-MET สำหรับพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน ร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา และสถานีวัดน้ำฝน เงื่อนไขที่ วิธีการกรองข้อมูล ข้อมูลอ้างอิง/แนวคิด 1 ไม่มีการกรองข้อมูล - 2 IR1<253 (K) จากงานวิจัยในต่างประเทศพบว่าอุณหภูมิยอดเมฆ (BT) จากช่องสัญญาณ IR1 และ IR2 ที่มีค่าต่ำกว่า -20 oC (253 K) มีโอกาสเป็นข้อมูลของเมฆฝน 3 IR1<250 (K) เนื่องจากต้องการหาค่า Threshold ที่เหมาะสมกับประเทศไทย คณะผู้วิจัยจึงได้ทดลองใช้ค่าที่ต่ำกว่างานวิจัยที่พบ 4 IR2<253 (K) 5 IR2<250 (K) 6 IR3<250 (K) จากงานวิจัยในต่างประเทศพบว่าค่า BT จากช่องสัญญาณ IR3 ที่มีค่าต่ำกว่า -23 oC (250 K) มีโอกาสเป็นข้อมูลของเมฆฝน 7 IR3<247 (K) 8 IR1-IR2<0 (K) จากงานวิจัยในต่างประเทศพบว่า BTD จากช่องสัญญาณ IR1 และ IR2 (Split Window) ที่มีค่าต่ำกว่า 0 oC มีโอกาสเป็นข้อมูลของเมฆฝน 9 IR2-IR1<0 (K) เนื่องจากต้องการศึกษาว่าผลลัพธ์ที่ได้จากวิธีการ IR1-IR2 กับ IR2-IR1 วิธีการใดที่เหมาะสมที่สุด 10 IR1-IR3<0 (K) จากงานวิจัยในประเทศญี่ปุ่น Kurino (1996) พบว่า BTD จากช่องสัญญาณ IR1 และ IR3 ที่มีค่าต่ำกว่า 0 oC มีโอกาสเป็นข้อมูลของเมฆฝน 11 IR3-IR1<0 (K) เนื่องจากต้องการศึกษาว่าผลลัพธ์ที่ได้จากวิธีการ IR1-IR3 กับ IR3-IR1 วิธีการใดที่เหมาะสมที่สุด 2.ศึกษาเงื่อนไขและแนวคิดในการเลือกเงื่อนไขการกรองข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อสร้างแบบจำลอง 3.การพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน สำหรับใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์โมเดลน้ำท่วม หรือสภาวะภัยแล้ง

19 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ปริมาณน้ำฝนเพื่อใช้ในภารกิจฝนหลวงเพื่อแก้ไขสภาวะภัยแล้ง
HJ-1A Earth Observation Satellite Rainfall Estimation Model FY-2C/E Meteorological Satellite GSMaP Effective Rain Making Operations Drought Risk Assessment Model Drought Risk Map

20 Thank You for Your Attention
Question?? facebook.com/SMMSThailand


ดาวน์โหลด ppt การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google