งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
สถานการณ์การระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ระหว่างวันที่ 16 – 22 มิ.ย. 54 รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด พื้นที่ที่ไม่พบการระบาด 21 จังหวัด ได้แก่ จ.พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ลพบุรี ชัยนาท อ่างทอง สิงห์บุรี นนทบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี พิษณุโลก พิจิตร อุทัยธานี นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ กำแพงเพชร นครนายก ระยอง เลยและพัทลุง พื้นที่ที่พบการระบาดเพลี้ยฯ 1 จังหวัด ได้แก่ จ.ปทุมธานี ไร่ รวมพื้นที่ระบาด 40 ไร่ พื้นที่ที่พบการระบาดเพลี้ยฯ แต่ยังไม่ทำความเสียหาย ได้แก่ จ.ปทุมธานี 11,820 ไร่ พื้นที่ระบาดจำแนกตามอายุข้าว มากกว่า 60 วัน ไร่

2 ปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดลดลง
ใช้เชื้อราบิวเวอเรียพ่นกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล มีฝนตกอย่างต่อเนื่องทำให้สภาพอากาศไม่เหมาะสมต่อการขยายพันธุ์ของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล การคาดการณ์ ในช่วงปลายเดือนมิถุนายนถึงต้นเดือนกรกฎาคม จะพบเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลตัวอ่อนเป็นบางจุด ของพื้นที่

3 แนวทางกรมส่งเสริมการเกษตรร่วมกับกรมการข้าวดำเนินโครงการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ปี 2554
กรมส่งเสริมการเกษตร ในส่วนที่เกี่ยวข้องมีกิจกรรมดังนี้ 1. จัดตั้งศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน จำนวน 300 ศูนย์ใน 20 จังหวัดๆ 15 ศูนย์ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง ลพบุรี นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา นครสวรรค์ พิษณุโลก อุทัยธานี กำแพงเพชรและพิจิตร การเฝ้าระวัง - อบรมสร้างวิทยากร 65 คน - อบรมเกษตรกรแกนนำ 1,800 คนจาก 300 ศูนย์ๆละ 6 คน - แปลงติดตามสถานการณ์ 300 แปลง มีการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง การเตือนภัย เมื่อสำรวจพบเพลี้ยฯมีแนวโน้มการระบาดให้ประกาศเตือนภัยล่วงหน้าทางหอกระจายข่าวและวิทยุท้องถิ่น เพื่อให้เกษตรกรเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด มีวัสดุอุปกรณ์ศูนย์ละ 1 ชุด รวม 300 ชุด สำหรับเรียนรู้และฝึกปฏิบัติในการผลิตขยายเชื้อราบิวเวอเรียควบคุมเพลี้ยกระโดดฯเป็นการป้องกันการระบาด

4 วงจรชีวิตเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
แนวทางกรมส่งเสริมการเกษตรร่วมกับกรมการข้าวดำเนินโครงการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ปี 2554(ต่อ) 2. การรณรงค์และประชาสัมพันธ์การควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล รณรงค์ใช้เชื้อราบิวเวอเรียควบคุมเพลี้ยกระโดดฯตัวอ่อน ข้อมูลทางวิชาการ การจัดการ วันที่ วงจรชีวิตเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วิธีการ แหล่งสนับสนุน 23 มิ.ย. – 9 ก.ค. 54 ตัวอ่อน รณรงค์ลดประชากรตัวอ่อนโดยใช้เชื้อราบิวเวอเรียพ่นและวิธีการอื่นๆโดยดำเนินการพร้อมกันทุกพื้นที่ที่มีการระบาด ศจช ผลิตขยายเชื้อราบิวเวอเรียเพื่อใช้พ่นควบคุมเพลี้ยกระโดดฯ ศูนย์เดิม 463 ศูนย์ ศูนย์ใหม่ 300 ศูนย์(กรมข้าว) ศูนย์บริหารศัตรูพืช ในเขตรับผิดชอบสนับสนุนหัวเชื้อบิวเวอเรีย การประชาสัมพันธ์ จัดทำข่าวประชาสัมพันธ์และเตือนการระบาด จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์การรณรงค์การควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล จัดทำชุดนิทรรศการการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล จัดทำเอกสารแผ่นพับการประเมินพื้นที่การระบาดและมาตรการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล จัดทำเอกสารคู่มือการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล 3. การสนับสนุนเมล็ดพันธ์ต้านทานเพื่อทดแทนพันธุ์อ่อนแอ โดยกรมส่งเสริมการเกษตรทำหน้าที่ประสานกับสำนักงานเกษตรจังหวัดให้ส่งรายชื่อเกษตรกรผู้ประสบภัยการระบาดที่จะขอรับเมล็ดพันธืต้านทานตามหลักเกณฑ์ที่เข้าร่วมโครงการภายในวันที่ 15 ก.ค. 54 สำหรับกรมการข้าวส่งมอบเมล็ดพันธุ์ข้าวให้สำนักงานเกษตรอำเภอเพื่อมอบให้เกษตรกร

5 วงจรชีวิตเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
แนวทางกรมส่งเสริมการเกษตรร่วมกับกรมการข้าวดำเนินโครงการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ปี 2554(ต่อ) กรมการข้าว ดำเนินกิจกรรมรณรงค์กำจัดตัวเต็มวัยโดยใช้กับดักแสงไฟ ข้อมูลทางวิชาการ การจัดการ วันที่ วงจรชีวิตเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วิธีการ แหล่งสนับสนุน 10 – 24 ก.ค. 54 ตัวเต็มวัย สนง.เกษตรจังหวัดร่วมกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น รณรงค์ลดประชากรตัวเต็มวัยโดยใช้กับดักแสงไฟและวิธีการอื่นๆโดยดำเนินการพร้อมกันทุกพื้นที่ที่มีการระบาด กรมการข้าว 2,000 ชุด(20 จังหวัดในโครงการ)

6 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบการระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
ระหว่างปี 2552/2553 กับ ปี 2553/2554 จากข้อมูล 14 จังหวัด 27,353 ไร่ 40 ไร่

7 แผนภูมิแสดงการระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ปี 2553/2554 จากข้อมูล 76 จังหวัด
40ไร่


ดาวน์โหลด ppt รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google