แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

การประเมินผลสถานศึกษา
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
การแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่จบหลักสูตร งานวัดผล โรงเรียนสุราษฎร์ธานี
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการ
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
กลุ่มงานตำรา ผศ. สุมล มานัสฤดี อ. วิภาวี ตลึงจิตร
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
การเผยแพร่และใช้ประโยชน์จากงานวิจัย
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
เลื่อนขั้นค่าตอบแทน และค่าตอบแทนพิเศษ พนักงานราชการ.
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง มาตรฐานทางเทคนิคของเครื่องโทรคมนาคมและอุปกรณ์ เรื่อง วิธีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และการออกหนังสือรับรองว่าเป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ว 5/2554.
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
ประเมินเทียบระดับการศึกษาในระดับสูงสุด ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
กรอบเนื้อหาการพัฒนา เนื้อหาหลักสูตรชั่วโมง 1. ส่วนที่ 1 การพัฒนาสมรรถนะ 180 ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์  ภาวะผู้นำทางวิชาการ.
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ รศ.สุรชัย ขวัญเมือง

ด้านคุณภาพการศึกษา

พิจารณาจาก 1. ความสมบูรณ์ของเนื้อหาสาระ 1. ความสมบูรณ์ของเนื้อหาสาระ พิจารณาจาก ความถูกต้อง เหมาะสม ครบถ้วนตามหลักวิชาการ และทันสมัย มีการค้นคว้า อ้างอิงถูกต้องเชื่อถือได้ เรียบเรียงเนื้อหาได้ถูกต้อง ตามหลักการใช้ภาษา จัดเรียงหัวข้อ เนื้อหาเป็นระบบเดียวกัน

ด้านคุณภาพการศึกษา (ต่อ) 2. ความถูกต้องตามหลักวิชาการ พิจารณาจาก รูปแบบ ขั้นตอน ในการนำเสนอต้องถูกต้อง ตามหลักวิชาของผลงานประเภทนั้นๆ

3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ด้านคุณภาพการศึกษา (ต่อ) 3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ พิจารณาจาก การแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การนำเสนอประสบการณ์ที่ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ผลงานใหม่ การนำสิ่งที่มีอยู่แล้วมาประยุกต์ด้วยเทคนิควิธีการใหม่ๆ ที่ก่อให้เกิดนวัตกรรม ผลงานนั้นเป็นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษา

4. การพิมพ์และการจัดรูปเล่ม ด้านคุณภาพการศึกษา (ต่อ) 4. การพิมพ์และการจัดรูปเล่ม พิจารณาจาก ความสวยงามและความถูกต้อง ตามหลักวิชาการ

ประโยชน์ของผลงานวิชาการ

1. ประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการหรือวิชาชีพ พิจารณาจาก เป็นผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการหรือวิชาชีพ สามารถเป็นแบบอย่างได้ ใช้เป็นแหล่งอ้างอิง หรือ เป็นแบบในการปฏิบัติได้เป็นอย่างดี

2. ประโยชน์ต่อผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ประโยชน์ของผลงานวิชาการ (ต่อ) 2. ประโยชน์ต่อผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา หน่วยงานการศึกษา การจัดการศึกษาและชุมชน พิจารณาจาก ผลที่ปรากฏต่อ ผู้เรียน ครู บุคลากร ทางการศึกษา การจัดการศึกษา และชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล

3. การเผยแพร่ในวงวิชาการ ประโยชน์ของผลงานวิชาการ (ต่อ) 3. การเผยแพร่ในวงวิชาการ พิจารณาจาก มีการนำผลงานไปเผยแพร่ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การจัดพิมพ์ในรายงานประจำปี เอกสาร วารสาร การนำเสนอต่อที่ประชุม การจัดนิทรรศการ การเผยแพร่ทางวิทยุ โทรทัศน์ หรือ Web site

องค์ประกอบและ เกณฑ์การให้คะแนน

1. การประเมินผลการปฏิบัติงาน พิจารณาจาก ผลงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ 20 คะแนน ผลงานตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ 50 คะแนน ผลที่เกิดกับผู้เรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และสถานศึกษา 30 คะแนน

2. การประเมินผลงานทางวิชาการ มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน องค์ประกอบและเกณฑ์การให้คะแนน(ต่อ) 2. การประเมินผลงานทางวิชาการ มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน โดยมีองค์ประกอบและเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

1. คุณภาพของผลงานทางวิชาการ (50 คะแนน) องค์ประกอบและเกณฑ์การให้คะแนน(ต่อ) 1. คุณภาพของผลงานทางวิชาการ (50 คะแนน) ความสมบูรณ์ของเนื้อหาสาระ 20 คะแนน ความถูกต้องตามหลักวิชาการ 15 คะแนน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 10 คะแนน การพิมพ์และการจัดทำรูปเล่ม 5 คะแนน

2. ประโยชน์ของผลงานทางวิชาการ (50 คะแนน) องค์ประกอบและเกณฑ์การให้คะแนน(ต่อ) 2. ประโยชน์ของผลงานทางวิชาการ (50 คะแนน) ประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชากาหรือวิชาชีพ 15 คะแนน ประโยชน์ต่อผู้เรียน ครู บุคลากร ทางการศึกษา การจัดการศึกษา หน่วยงานการศึกษาและชุมชน 25 คะแนน การเผยแพร่ในวงวิชาการ 10 คะแนน

เกณฑ์การตัดสิน ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติงาน องค์ประกอบและเกณฑ์การให้คะแนน(ต่อ) เกณฑ์การตัดสิน ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน ต้องไม่ต่ำกว่า 70% ผลงานทางวิชาการ ต้องไม่ต่ำกว่า 70% คะแนนรวม ต้องไม่ต่ำกว่า 75% ผู้ผ่านเกณฑ์ ต้องผ่านเกณฑ์เอกฉันท์ทั้งผลการปฏิบัติงานและผลงานทางวิชาการ

แนวทางการประเมิน

1. ผลงานทางวิชาการ ต้องอยู่ในเงื่อนไขดังนี้ 1. ผลงานทางวิชาการ ต้องอยู่ในเงื่อนไขดังนี้ ผลงานวิจัย จะต้องไม่เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกอบรม เป็นผลงานที่เปิดเผยต่อสาธารณะ - เพื่อประโยชน์ในการศึกษา หรือใช้อ้างอิง - ป้องกันการลอกเลียนผลงาน กรณีเสนอผลงานที่มีผู้แต่งร่วม จะต้องมีผลงานฯ ที่จัดทำแต่ผู้เดียวไม่น้อยกว่า 1 รายการ

2. กรณีผลการประเมินในส่วนของผลการปฏิบัติงาน แนวทางการประเมิน (ต่อ) 2. กรณีผลการประเมินในส่วนของผลการปฏิบัติงาน ไม่ผ่านเกณฑ์ ที่ ก.ค.ศ. กำหนด ไม่สามารถปรับปรุงได้

3. การปรับปรุงผลงานทางวิชาการ แนวทางการประเมิน (ต่อ) 3. การปรับปรุงผลงานทางวิชาการ คะแนนผลการปฏิบัติงานจากกรรมการ ทั้ง 3 คน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 คะแนนผลงานทางวิชาการจากกรรมการ ไม่น้อยกว่า 2 คน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ปรับปรุงได้ไม่เกิน 2 ครั้ง - ครั้งที่ 1 ไม่เกิน 6 เดือน - ครั้งที่ 2 ไม่เกิน 3 เดือน

4. กรณีเสนอผลงานเกิน 1 รายการ แนวทางการประเมิน (ต่อ) 4. กรณีเสนอผลงานเกิน 1 รายการ แต่ละรายการประเมินมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน เมื่อประเมินแล้ว ให้นำคะแนนมาเฉลี่ยเป็นคะแนนผลงานที่ได้