การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ
การจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประจำปีงบประมาณ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายวิชาการ พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายสนับสนุน
การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง
ส่วนการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
ข้อเสนอ แนวทางการกำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
เป็นการย้ายข้าราชการไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิม
สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ.
การชี้แจงบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38ค.(2) เรื่อง กรอบอัตรากำลัง
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การสอบคัดเลือกตาม ว 34.
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
การคัดเลือกเพื่อเปลี่ยนสายงาน
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร ณ โรงแรมเจริญธานี ปริ๊นเซส จังหวัดขอนแก่น
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
K hon K aen U niversity O ffice of Q uality M anagement ผลลัพธ์ IQA_KKU 2552.
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
สป.สธ.ซักซ้อมแนวทางการดำเนินการ ด้านการบริหารงานบุคคล
การระบุตำแหน่ง ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
นายโกสน เพชรรักษ์ นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
คุณอยู่ตรงไหน? และจะก้าวหน้าอย่างไร? (วันนี้ขอเฉลยเฉพาะความก้าวหน้า
1 การปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือกอุดมศึกษาเพื่อ ปวงชน ”
การจัดตำแหน่งประเภท เจ้าหน้าที่บริหาร......
ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
การเตรียมความพร้อม ของการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
วันศุกร์ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การบรรจุแต่งตั้ง ข้าราชการ
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
แนวทางการทำงานวิจัยจากงานประจำ
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การคัดเลือกฯ ปริญญาโท
การปรับให้ได้รับเงินเดือน ตามคุณวุฒิ
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
การกำหนดอัตราเงินเดือน สำหรับคุณวุฒิที่ ก.พ.รับรอง
เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่ ก.พ. กำหนด
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
ปัญหาการแต่งตั้งข้าราชการ
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร วันที่ 23 พฤษภาคม 2551 ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

โครงสร้างตำแหน่งสายสนับสนุน มีดังนี้ ตำแหน่งปฏิบัติการ - ระดับต้น (ปวช./ปวส.) - ระดับกลาง (ป.ตรีขึ้นไป) ตำแหน่งผู้บริหาร - ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดีหรือวิทยาเขต - ผู้อำนวยการกอง/เลขานุการคณะ/สถาบัน/สำนัก ตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ

การกำหนดระดับตำแหน่งปฏิบัติการ กำหนดไว้ดังนี้ ตำแหน่งปฏิบัติการระดับต้น - วุฒิ ปวช. หรือเทียบเท่า กำหนดเป็นระดับ 1-3, 4, 5 - วุฒิ ปวส. หรือเทียบเท่า กำหนดเป็นระดับ 2-4, 5, 6 ตำแหน่งปฏิบัติการระดับกลาง - วุฒิปริญญาตรี กำหนดเป็นระดับ 3-6 - วุฒิปริญญาโท กำหนดเป็นระดับ 4-7 (นักวิจัย นายแพทย์ ทันตแพทย์ สัตวแพทย์)

การกำหนดระดับตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ กำหนดไว้ดังนี้ ตำแหน่งชำนาญการ มี 2 ระดับ - กำหนดเป็นระดับ 6 - กำหนดเป็นระดับ 7-8 ตำแหน่งเชี่ยวชาญ - กำหนดเป็นระดับ 9 ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ - กำหนดเป็นระดับ 10

การกำหนดระดับตำแหน่งผู้บริหาร ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานในกอง/สำนักงานเลขานุการคณะ - กำหนดเป็นระดับ 7 ตำแหน่งกลุ่มงานตามภารกิจหลักในสถาบัน/สำนัก/ศูนย์ หรือเทียบเท่า - กำหนดเป็นระดับ 7, 8

การกำหนดระดับตำแหน่งผู้บริหาร (ต่อ) ตำแหน่งผู้อำนวยการกอง/เลขานุการคณะหรือเทียบเท่า - ผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่า กำหนดเป็นระดับ 7-8 - เลขานุการคณะหรือเทียบเท่า กำหนดดังนี้ - งานในเชิงประสาน กำหนดเป็น ระดับ 7 - งานที่ต้องดำเนินการมีความหลากหลาย ยุ่งยาก กำหนดเป็นระดับ 8

การกำหนดระดับตำแหน่งผู้บริหาร (ต่อ) ตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี/สำนักงานวิทยาเขต - หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี - ลักษณะงานหลากหลาย มีความยุ่งยาก ซับซ้อน กำหนดเป็น ระดับ 8 การบริหารจัดการมาก กำหนดเป็นระดับ 9 - หัวหน้าสำนักงานวิทยาเขต - บริหารงานไม่เบ็ดเสร็จ กำหนดเป็นระดับ 8 - บริหารงานเบ็ดเสร็จ กำหนดเป็นระดับ 9

เกณฑ์การพิจารณาตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ เกณฑ์การพิจารณาตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ พิจารณาความจำเป็นของหน่วยงาน พิจารณาประเมินผลงาน

การพิจารณาประเมินตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ มี 2 วิธี การพิจารณาประเมินตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ มี 2 วิธี วิธีปกติ - คุณสมบัติครบ วิธีพิเศษ - ขาดคุณสมบัติเกี่ยวกับระยะเวลา - ข้ามตำแหน่ง เช่น ตำแหน่งระดับปฏิบัติการ ประเมินตำแหน่งเชี่ยวชาญ

การพิจารณาความจำเป็นกำหนดตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ 1. วิเคราะห์ความจำเป็นของหน่วยงาน แนวทางดังนี้ - คณะ สถาบัน สำนักหรือเทียบเท่า กำหนด ตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญพิเศษได้ - สำนักงานอธิการบดี กำหนดตำแหน่งได้ไม่เกิน ตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญ - กอง/สำนักงานเลขานุการกำหนดตำแหน่ง ได้ไม่เกินตำแหน่งระดับชำนาญการ

การพิจารณาความจำเป็นกำหนดตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ 2. วิเคราะห์งานของตำแหน่ง แนวทางดังนี้ 2.1 ตำแหน่งระดับชำนาญการ - ลักษณะงานที่ปฏิบัติต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ความชำนาญงาน - ต้องใช้และหรือประยุกต์หลักการเหตุผล แนวความคิด วิธีการ เพื่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่ กำหนดไว้

การพิจารณาความจำเป็นกำหนดตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ 2.2 ตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญ หรือเชี่ยวชาญพิเศษ - ลักษณะงานจำเป็นต้องปฏิบัติโดยผู้มีความรู้ ทฤษฎี หลักวิชาหรือหลักการเกี่ยวกับงาน เฉพาะทาง - เป็นงานเชิงพัฒนาระบบหรือมาตรฐาน

การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ ตำแหน่งระดับชำนาญการ ระดับ 6, 7-8 คุณสมบัติระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง - ปวช. 16 ปี - ปวส. 12 ปี - ป.ตรี 9 ปี - ป.โท 5 ปี - ป.เอก 2 ปี - ผู้ใช้วุฒิหลายระดับ นับระยะเวลารวมกันตามอัตราส่วนได้ แต่ต้องเป็นตำแหน่งที่ได้มีการกำหนดความจำเป็นไว้แล้ว

การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ เกณฑ์การประเมินมี 3 องค์ประกอบ - ปริมาณงานในหน้าที่ - คุณภาพของงานในหน้าที่ - ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ

การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 คุณสมบัติ - ป.ตรี - ดำรงตำแหน่งชำนาญการหรือเทียบเท่ามาแล้ว ไม่น้อยกว่า 3 ปี

การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ เกณฑ์การประเมินมี 4 องค์ประกอบ - ปริมาณงานในหน้าที่ - คุณภาพของงานในหน้าที่ - ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญ - การใช้ความรู้ความสามารถในงานสนับสนุน งานบริการวิชาการหรืองานวิชาชีพบริการต่อสังคม

การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 คุณสมบัติ - ดำรงตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษหรือเทียบเท่ามาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี

การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ เกณฑ์การประเมินมี 5 องค์ประกอบ - ปริมาณงานในหน้าที่ - คุณภาพของงานในหน้าที่ - ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษ - การใช้ความรู้ความสามารถในงานสนับสนุน งานบริการวิชาการหรืองานวิชาชีพบริการต่อสังคม - ความเป็นที่ยอมรับนับถือในงานด้านนั้น ๆ หรือ ในวงวิชาการหรือวิชาชีพนั้น ๆ

วิธีการประเมินและเกณฑ์การตัดสิน - วิธีปกติ ตั้งกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน - วิธีพิเศษ ตั้งกรรมการไม่น้อยกว่า 5 คน เกณฑ์การตัดสิน - วิธีปกติ ใช้เสียงข้างมาก - วิธีพิเศษ ใช้เสียง 4 ใน 5

เงินประจำตำแหน่ง ตำแหน่ง อัตราเงินประจำ ตำแหน่ง/เดิม อัตราเงิน เพิ่มพิเศษ/เดือน หมายเหตุ เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 (วช.ชช.) เชี่ยวชาญ ระดับ 9 (วช.ชช.) ชำนาญการ ระดับ 8 (วิชาชีพเฉพาะ วช.) ชำนาญการ ระดับ 7 13,000 9,900 5,600 3,500 - ไม่ใช่วิชาชีพเฉพาะรับเงินเพิ่มพิเศษ 5,600 บาท

จบคำบรรยาย