งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
เรืองชัย จรุงศิรวัฒน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 9 ผู้เชี่ยวชาญ มหาวิทยาลัยขอนแก่น * ที่ปรึกษา อธิการบดี มรภ.ราชนครินทร์ มรภ.บุรีรัมย์ มรภ.กำแพงเพชร ที่ปรึกษารองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มรภ.ยะลา

2 สถานภาพของบุคลากรสายสนับสนุน ในสถาบันอุดมศึกษา/มหาวิทยาลัย
บุคลากรสายสนับสนุน ในถาบันอุดมศึกษา/มหาวิทยาลัย ปัจจุบันอยู่ใน 2 สถานภาพคือ 1. เป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดม ศึกษา 2. เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย

3 การบริหารงานบุคคล ในมหาวิทยาลัย
การบริหารงานบุคคลในมหาวิทยาลัย อยู่ภายใต้องค์กรที่ทำหน้าที่ในการบริหารงานบุคคล 2 ระดับ คือ

4 ระดับองค์กรกลางบริหารงานบุคคล
- คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนใน สถาบันอุดมศึกษา(ก.พ.อ.) ระดับมหาวิทยาลัย/สถาบัน - สภาสถาบันอุดมศึกษา

5 สภาสถาบันอุดมศึกษา ในมาตรา 3 แห่ง พ.ร.บ. การบริหารส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ สภาสภาบันอุดมศึกษา หมายถึงสภามหาวิทยาลัยหรือสภาสถาบันอุดมศึกษาแล้วแต่กรณี ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ดังนี้...

6 ۞ ออกข้อบังคับว่าด้วยการบริหารงาน บุคคลของพนักงานมหาวิทยาลัย
۞ ออกข้อบังคับการบริหารงานบุคคลของ ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตามเกณฑ์มาตรฐานของ ก.พ.อ.

7 ۞ แต่งตั้งคณะกรรมการ ต่างๆ เช่น
- กรรมการวิชาการ - กรรมการบริหารงานบุคคล - กฎหมาย - อุทธรณ์ และร้องทุกข์

8 โครงสร้าง ระดับ ตำแหน่ง ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
ก.พ.อ. ได้กำหนดโครงสร้างตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาตามพ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ * มาตรา 18 (ข) (7) และ (8) ได้กำหนดโครงสร้างตำแหน่งสายสนับสนุน เป็นดังนี้ * หนังสือด่วนที่สุดของ สกอ. ที่ศธ /ว 1 ลงวันที่ 29 มค เรื่อง การกำหนดโครงสร้างตำแหน่ง ขรก.พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา..

9 ตามหนังสือดังกล่าว โดยสรุปกำหนดให้ ขรก
ตามหนังสือดังกล่าว โดยสรุปกำหนดให้ ขรก.พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา มี 71 สายงาน 72 ตำแหน่ง คือ 1. ตำแหน่งประเภททั่วไป จำนวน 32 สายงาน 32 ตำแหน่ง 2. ตำแหน่งวิชาชีพเฉพาะ จำนวน 15 สายงาน 15 ตำแหน่ง 3. ตำแหน่งเชี่ยวชาญเฉพาะ * จำนวน 24 สายงาน 25 ตำแหน่ง * สายงานวิจัย มีสองตำแหน่งคือ เจ้าหน้าที่วิจัย และ นักวิจัย

10 ตำแหน่งปฏิบัติการ ۞ ปฏิบัติการระดับต้น (วุฒิต่ำกว่า ป.ตรี)
۞ ปฏิบัติการระดับต้น (วุฒิต่ำกว่า ป.ตรี) - วุฒิ ปวช. กำหนดเป็นระดับควบ ผู้มีประสบการณ์ระดับ 4,5 - วุฒิ ปวส. กำหนดเป็นระดับควบ ผู้มีประสบการณ์ระดับ 5,6 ۞ ปฏิบัติการระดับกลาง (วุฒิ ป.ตรี/สูงกว่า) - ป.ตรี กำหนดเป็นระดับควบ 3-6 - ป.โท กำหนดเป็นระดับควบ 4-7

11 ตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
ตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ ۞ ตำแหน่งชำนาญการ กำหนดระดับตำแหน่ง เป็น ชำนาญการ ระดับ 6 - ชำนาญการ ระดับ 7-8 ۞ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ กำหนดระดับตำแหน่งเป็น - เชี่ยวชาญ ระดับ 9 - เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10

12 ตำแหน่งผู้บริหาร ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานภายในกอง/ สำนักงานเลขานุการคณะ
- กำหนดเป็นระดับ 7 ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานภายในศูนย์/ สถาบัน /สำนัก - กำหนดเป็นระดับ 7 , 8 ตามหน้าที่รับผิดชอบ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ความยุ่งยากซับซ้อนของงาน

13 ตำแหน่งผู้อำนวยการกอง
/เลขานุการคณะ - ผู้อำนวยการกอง กำหนดเป็นระดับ 7-8 - เลขานุการคณะ ขอบข่ายงานมีความ ยุ่งยากซับซ้อนพอสมควร กำหนดเป็น ระดับ 7 - เลขานุการคณะ ขอบข่ายงานมีความ ยุ่งยากซับซ้อนมาก กำหนดเป็นระดับ 8

14 ตำแหน่งหัวหน้าสำนักงานอธิการบดี/ สำนักงานวิทยาเขต
ตำแหน่งหัวหน้าสำนักงานอธิการบดี/ สำนักงานวิทยาเขต - กำหนดเป็นระดับ 8 (ยุ่งยากซับซ้อนพอสมควร) กำหนดเป็นระดับ 9 (ยุ่งยากซับซ้อนมาก) ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่มีลักษณะพิเศษ หน่วยงานที่มีลักษณะพิเศษในมหาวิทยาลัย เช่น โรงพยาบาล - กำหนดเป็นระดับ 7,8 (มิได้ใช้วิชาชีพ) - กำหนดเป็นระดับ 8,9 (ใช้วิชาชีพ)

15 ความก้าวหน้าของบุคลากร สายสนับสนุน
เข้าสู่ตำแหน่งตามโครงสร้าง เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ เปลี่ยนตำแหน่ง เลื่อนตำแหน่ง หัวหน้าหน่วย หัวหน้า งาน/ฝ่าย , ผอ. ,เลขา นุการคณะ/หน่วยงาน ชำนาญการ 6 ชำนาญการ 7-8 เชี่ยวชาญ 9 เชี่ยวชาญพิเศษ 10

16 การจะเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นต้องเป็นไปตามประกาศ ก. พ. อ
การจะเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นต้องเป็นไปตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่องมาตรฐานการกำหนดระดับตำแหน่ง และการแต่งตั้ง ขรก. พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น ประกาศเมื่อวันที่ 2 กพ.2550 และสภาแต่ละสถาบันอุดมศึกษา ต้องออกเป็นข้อบังคับว่าด้วยการกำหนดระดับตำแหน่ง และการแต่งตั้ง ขรก.พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้นก่อน จึงจะก้าวหน้าเข้าสู่ตำแหน่งระดับสูงขึ้นได้

17 ตามหลักการแล้ว สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งต้องปรับตำแหน่ง ขรก
ตามหลักการแล้ว สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งต้องปรับตำแหน่ง ขรก. เข้าสู่การกำหนดโครงสร้างตำแหน่งใหม่ ตามหนังสือที่ ศธ / ว.3 ลงวันที่ 29 มค.2550 ก่อนเป็นลำดับแรก ขั้นตอนต่อไปจึงดำเนินการส่งเสริมผู้ที่มีความรู้ความสารถและมีประสบการณ์ ก้าวหน้าเข้าสู่ตำแหน่งระดับที่สูงขึ้นต่อไป

18 การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
ความก้าวหน้าในการเข้าสู่ตำแหน่งทีสูงขึ้น ของสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยมีวิธีการเข้า สู่ตำแหน่งได้ 4 วิธีคือ 1. ระดับควบ 2. ประสบการณ์ 3. โครงสร้าง/บริหาร 4. ชำนาญการ/เชี่ยวชาญ

19 การเข้าสู่ตำแหน่งโดยระดับควบ
สายสนับสนุนทุกตำแหน่งในมหาวิทยาลัยมีความก้าวหน้าของตำแหน่งโดยใช้ “ระดับควบ” ตามวุฒิที่ใช้บรรจุ ดังนี้ สาย 1 ที่บรรจุด้วยวุฒิ ปวช. มีระดับควบจากระดับ 1 ถึงระดับ 3 โดยเริ่มต้นการบรรจุจากระดับ 1 จะมีความก้าวหน้าสูงสุดถึงระดับ 3

20 สาย 2 ที่บรรจุด้วยวุฒิ ปวส
สาย 2 ที่บรรจุด้วยวุฒิ ปวส. มีระดับควบจาก ระดับ 2 ถึงระดับ 4 โดยเริ่มต้นการบรรจุจากระดับ 2 จะมีความก้าวหน้าสูงสุดถึงระดับ 4 สาย 3 ที่บรรจุด้วยวุฒิ ป.ตรี มีระดับควบจาก ระดับ 3 ถึงระดับ 6 โดยเริ่มต้นการบรรจุจากระดับ 3 จะมีความก้าวหน้าสูงสุดถึงระดับ 6 สาย 4 ที่บรรจุด้วยวุฒิ ป.โท มีระดับควบจาก ระดับ 4 ถึงระดับ 7 โดยเริ่มต้นการบรรจุจากระดับ 4 จะมีความก้าวหน้าสูงสุดถึงระดับ 7

21 การพิจารณาเข้าสู่ตำแหน่งระดับควบ
- ไม่ต้อง วิเคราะห์และประเมินค่างาน - ต้องประเมินการปฏิบัติงาน - ต้องประเมินคุณลักษณะของบุคคลที่ จำเป็นสำหรับตำแหน่ง - ดูที่คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งเป็นหลัก

22 การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น โดยใช้ประสบการณ์
สายสนับสนุนปฏิบัติการระดับต้น สามารถเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น ที่สูงกว่าระดับควบ โดยใช้ “ประสบการณ์” ซึ่งต้องมีการประเมินผลงาน คุณลักษณะของบุคคลที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง และผลงานที่ประเมินเป็นให้ไปตามองค์ประกอบที่ ก.พ.อ. กำหนด

23 สาย 1 - วุฒิ ปวช กำหนดเป็นระดับควบ ผู้มีประสบการณ์ ระดับ 4 , 5 สาย 2 - วุฒิ ปวส กำหนดเป็นระดับควบ ผู้มีประสบการณ์ ระดับ 5 , 6

24 การพิจารณาเข้าสู่ตำแหน่ง ผู้มีประสบการณ์
- ต้องวิเคราะห์และประเมินค่างานก่อน - ต้องประเมินผลงานจากการปฏิบัติงาน - ต้องประเมินคุณลักษณะและสมรรถนะที่จำเป็น สำหรับตำแหน่ง - ดูคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งเป็นหลัก

25 กรณีของตำแหน่งปฏิบัติการผู้มีประสบการณ์ การประเมินผลงาน ก. พ. อ
กรณีของตำแหน่งปฏิบัติการผู้มีประสบการณ์ การประเมินผลงาน ก.พ.อ. กำหนดให้พิจารณาองค์ปะกอบ ต่อไปนี้ 1) ขอบเขตของผลงาน 2) คุณภาพของผลงาน 3) ความยุ่งยากซับซ้อนของผลงาน 4) ประโยชน์ของผลงาน 5) ความรู้ความชำนาญงานและประสบการณ์

26 ประเมินค่างานการพิจารณา เข้าสู่ตำแหน่งของผู้มีประสบการณ์
เกณฑ์การตัดสิน ประเมินค่างานการพิจารณา เข้าสู่ตำแหน่งของผู้มีประสบการณ์ - ระดับ 4 ต้องได้คะแนนรวม 60 คะแนนขึ้นไป - ระดับ 5 ต้องได้คะแนนรวม 70 คะแนนขึ้นไป - ระดับ 6 ต้องได้คะแนนรวม 80 คะแนนขึ้นไป

27 ในการกำหนดระดับตำแหน่ง การประเมินผลงาน และ การแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้นของข้าราชการตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ พึงระวัง... 1) การกำหนดระดับตำแหน่งต้องสอดคล้องกับกรอบของตำแหน่งและแผนพัฒนากำลังคนที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด 2) การกำหนดระดับตำแหน่งดังกล่าว ต้องดำเนินการอย่างโปร่งใส ภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไป นี้...

28 - เป็นไปตามโครงสร้างระดับตำแหน่งที่ ก.พ.อ. กำหนด
- ไม่มีผลให้มีการเพิ่มงบประมาณหมวดเงินเดือน และค่าจ้างประจำ - ไม่มีผลทำให้อัตรากำลังเพิ่มขึ้น - การกำหนดระดับตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานให้ เป็นระดับสูงขึ้น ต้องมีระดับตำแหน่งไม่สูง เท่าระดับตำแหน่งบริหารของหน่วยงานนั้น - ต้องคำนึงถึงความมีประสิทธิภาพ ความไม่ ซ้ำซ้อน และความประหยัด

29 การเข้าสู่ตำแหน่งตามโครงสร้าง
1. ระดับปฏิบัติการ การเปลี่ยนตำแหน่งปฏิบัติการ ระดับต้น เป็น ระดับกลาง เป็นการเปลี่ยนตำแหน่งจากตำแหน่งที่บรรจุด้วยวุฒิ ปวช. (สาย 1) หรือ ปวส.(สาย 2) เป็นตำแหน่งที่บรรจุด้วยวุฒิปริญญาตรี(สาย 3)

30 การเปลี่ยนตำแหน่งเช่นนี้ พิจารณาจาก...
- ลักษณะงานของหน่วยงานนั้นจะต้องมีตำแหน่ง ดังกล่าว - คุณวุฒิของผู้ที่จะขอเปลี่ยนตำแหน่งตรงกับ ตำแหน่งใหม่ - สภามหาวิทยาลัย หรือ กรรมการบริหารงาน บุคคล เป็นผู้พิจารณา

31 การเลื่อนตำแหน่งปฏิบัติการ ระดับต้น
เป็น ระดับกลาง เป็นการเลื่อนตำแหน่งจากตำแหน่งปฏิบัติการจากระดับต้น เป็นระดับกลาง พิจารณาจาก.... - ใช้วิธีการประเมิน - ประเมินผลงาน/คุณลักษณะของบุคคล - ประเมินโดยองค์คณะบุคคล

32 2. ตำแหน่งผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มงานภายในกอง
สำนักงานเลขานุการคณะ ระดับ 7 - ประเมินตามแบบประเมิน - ประเมินสมรรถนะการเป็นผู้บริหาร - ประเมินโดยองค์คณะบุคคล - สภามหาวิทยาลัย/คณะกรรมการ บริหารงานบุคคล เป็นผู้พิจารณา

33 หัวหน้ากลุ่มงานภายในศูนย์ สถาบัน/สำนัก ระดับ 7 , 8
- ประเมินตามแบบประเมิน - ประเมินสมรรถนะการเป็นผู้บริหาร - ประเมินโดยองค์คณะบุคคล - ผ่านการอบรมหลักสูตรของผู้บริหาร สกอ หรือ เทียบเท่า - สภามหาวิทยาลัย/คณะกรรมการ บริหารงานบุคคล เป็นผู้พิจารณา

34 ผู้อำนวยการกอง ระดับ 7 – 8 เลขานุการคณะ ระดับ 7 , 8
- ประเมินตามแบบประเมิน - ประเมินสมรรถนะการเป็นผู้บริหาร - ประเมินโดยองค์คณะบุคคล - ผ่านการอบรมหลักสูตรของผู้บริหาร สกอ หรือ เทียบเท่า - สภามหาวิทยาลัย/คณะกรรมการ บริหารงานบุคคล เป็นผู้พิจารณา

35 หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี หัวหน้าสำนักงานวิทยาเขต ระดับ 8 , 9
۞ หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี ระดับ 8 - มีลักษณะงานที่หลากหลาย - มีความยุ่งยากซับซ้อนในการบริหารงาน ۞ หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี ระดับ 9 - มีลักษณะงานที่หลากหลาย - มีความยุ่งยากซับซ้อนในการบริหารงาน - มีสภาพที่หลากหลายและซับซ้อน ۞ หัวหน้าสำนักงานวิทยาเขต ระดับ 8 - การบริหารงานไม่เบ็ดเสร็จที่วิทยาเขต

36 ۞ หัวหน้าสำนักงานวิทยาเขต ระดับ 9
- การบริหารงานส่วนใหญ่เบ็ดเสร็จที่วิทยาเขต การพิจารณา - ประเมินตามแบบประเมิน - ประเมินสมรรถนะการเป็นผู้บริหาร - ประเมินโดยองค์คณะบุคคล - ผ่านการอบรมหลักสูตรของผู้บริหาร สกอ หรือ เทียบเท้า - สภามหาวิทยาลัย/คณะกรรมการ บริหารงานบุคคล เป็นผู้พิจารณา

37 กรณีของตำแหน่งประเภทผู้บริหาร ก. พ. อ
กรณีของตำแหน่งประเภทผู้บริหาร ก.พ.อ. กำหนดให้ต้องประเมินจากการปฏิบัติงาน คุณลักษณะ และ สมรรถนะของบุคคลที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งผู้บริหาร โดยกำหนดองค์ประกอบการประเมินการปฏิบัติงานไว้ดังนี้ 1) ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน 2) ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ 3) การวางแผน ควบคุม ติดตามผลการ ปฏิบัติงานและพัฒนางาน 4) การแนะนำ การสอนงานและพัฒนา ผู้ใต้บังคับบัญชา

38 ประเมินค่างานการพิจารณา เข้าสู่ตำแหน่งของผู้บริหาร
เกณฑ์การตัดสิน ประเมินค่างานการพิจารณา เข้าสู่ตำแหน่งของผู้บริหาร - ระดับ 7 ต้องได้คะแนนรวม 70 คะแนนขึ้นไป - ระดับ 8 ต้องได้คะแนนรวม 80 คะแนนขึ้นไป - ระดับ 9 ต้องได้คะแนนรวม 90 คะแนนขึ้นไป

39 เมื่อประเมินค่างานกำหนดให้เป็นระดับต่าง ๆ แล้ว การเข้าสู่ตำแหน่งเป็นระดับสูงขึ้นต้องประเมินผลงาน และประเมินคุณลักษณะของบุคคลที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง ทั้งนี้ประเด็นสำคัญที่สุดคือต้องดูที่คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง แต่ละระดับในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเป็นหลัก ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ก่อน กรณีของตำแหน่งประเภทผู้บริหารต้องผ่านการอบรมหลักสูตรนักบริหารที่ ก.พ.อ. รับรอง

40 การประเมินคุณลักษณะและสมรรถนะของบุคคลที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งผู้บริหาร ก
การประเมินคุณลักษณะและสมรรถนะของบุคคลที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งผู้บริหาร ก.พ.อ. ไม่ได้กำหนดไว้ แต่ละสถาบันอุดมศึกษากำหนดขึ้นเองได้ตามความเหมาะสม เช่น... (1) ความประพฤติ (2) ความมีมนุษย์สัมพันธ์ (3) ความเป็นผู้นำ (4) การคิดเชิงกลยุทธ์ (5) การตัดสินใจในการแก้ปัญหา (6) วิสัยทัศน์

41 การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ สามารถเข้าสู่ตำแหน่ง ได้ 2 วิธีคือ วิธีปกติ - มีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์ที่กำหนด

42 วิธีพิเศษ - มีคุณสมบัติไม่ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด เช่น ระยะเวลาไม่ครบ - ข้ามตำแหน่ง เช่น จากระดับปฏิบัติการแล้ว ขอกำหนดตำแหน่งเป็นผู้เชี่ยวชาญ โดย ไม่ได้เป็นผู้ชำนาญการมาก่อน

43 หลักเกณฑ์ และวิธีการเข้าสู่ตำแหน่ง ชำนาญการ 6 , 7-8 เชี่ยวชาญ 9
ชำนาญการ 6 , 7-8 เชี่ยวชาญ 9 และ เชี่ยวชาญพิเศษ 10 1. ภารกิจหลักของหน่วยงาน 1.1 หน่วยงานที่ทำหน้าที่สนับสนุน และอำนวยการ - กอง/สำนักงานเลขานุการ ศูนย์/สถาบัน/สำนัก กำหนดตำแหน่งชำนาญการระดับ 6 ,7-8 - สำนักงานอธิการบดี กำหนดตำแหน่ง เชี่ยวชาญ ระดับ 9

44 1.2 หน่วยงานที่ปฏิบัติการเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์สำคัญของ มหาวิทยาลัย
- ฝ่าย/กลุ่มงาน ในศูนย์/สถาบัน/สำนัก กำหนดตำแหน่งชำนาญการ ระดับ 6 , 7-8 - ศูนย์/สถาบัน/สำนัก กำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10

45 2.1 ตำแหน่งชำนาญการ ระดับ 6 ระดับ 7-8
2. หน้าที่ความรับผิดชอบ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ และลักษณะของตำแหน่ง ดังนี้ 2.1 ตำแหน่งชำนาญการ ระดับ ระดับ 7-8 - ลักษณะงานจำเป็นต้องปฏิบัติโดยผู้มีความรู้ความสามารถ ทักษะเฉพาะทาง

46 - ทำการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือวิจัย
- ประยุกต์หลักการเหตุผล แนวคิดวิธีการเพื่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่กำหนด - พัฒนางานในหน้าที่และงานเฉพาะทาง หรือ แก้ไขปัญหาในงานหลักที่ปฏิบัติซึ่งมีความยุ่งยากและมีขอบเขตกว้างขวาง

47 2.2 ตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9
2.2 ตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 - ต้องปฏิบัติโดยผู้มีความรู้ทฤษฎี หลักวิชา หรือหลักการเกี่ยวกับงานเฉพาะด้าน - เป็นงานเชิงพัฒนาระบบ หรือมาตรฐานของงาน หรืองานพัฒนาทฤษฎี หลักการ ความรู้ใหม่ - ต้องมีการวิจัยเกี่ยวกับงานเฉพาะด้าน หรือเฉพาะทาง และนำมาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ

48 - ประยุกต์ทฤษฎี แนวคิดใหม่เกี่ยวกับเนื้อหาของงาน เพื่อแก้ไขปัญหาในงานที่มีความยุ่งยากมาก
- ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับงาน ตลอดจนให้คำปรึกษา แนะนำ หรือปรับปรุงผสมผสานเทคนิคระดับสูงระหว่างสาขาที่เกี่ยวข้อง

49 2.3 ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10
2.3 ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 - ปฏิบัติหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาระบบ หรือมาตรฐานในการปฏิบัติงาน หรือแก้ไขปัญหาที่มีความสำคัญ - เป็นที่ปรึกษาในโครงการที่สำคัญ ให้บริการและเผยแพร่วิชาการระดับชาติ

50 คุณสมบัติในการเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการ ตำแหน่งชำนาญการ ระดับ 6 ,7-8
ต้องมีคุณวุฒิ และ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ดังนี้... - ปวช เทียบเท่า 16 ปี - ปวส เทียบเท่า 12 ปี - ปริญญาตรี เทียบเท่า 9 ปี - ปริญญาโท เทียบเท่า 5 ปี - ปริญญาเอก เทียบเท่า 2 ปี

51 สูตรในการคำนวณเวลา ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2
ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 - ไม่มีวุฒิใดให้ตัดออก ถ้าเป็นวัน หรือ เป็นเดือน ต้องเปลี่ยนให้ เป็นปี ที่เป็นตัวหาร ผลการคำนวณถ้าได้มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ถือ ว่ามีคุณสมบัติของเวลาครบ

52 กรณีได้รับวุฒิเพิ่มขึ้นและได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่ใช้วุฒิดังกล่าวเป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ให้นับระยะเวลาดำรงตำแหน่งทั้งสองตำแหน่งรวมกันตามอัตราส่วนได้ โดยตำแหน่งที่ดำรงอยู่เดิมต้องเป็นตำแหน่งที่ได้มีการกำหนดความจำเป็นของหน่วยงานให้มีตำแหน่งระดับชำนาญการไว้แล้ว

53 ตัวอย่างที่ 1 วิธีคำนวณ
นาย ก. ตำแหน่ง น.การเงินฯ ระดับ 6 ปฏิบัติงานในตำแหน่งเป็นเวลา 5 ปี ต่อมาศึกษาต่อจนสำเร็จ ป.โทและปฏิบัติหน้าที่หลังมีวุฒิ ป.โท อีก 3 ปี นาย ก. มีคุณสมบัติเรื่องเวลาหรือไม่ ? วิธีคำนวณ ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1

54 ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2
ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 แทนค่า = 1 5 = 1 5 ดังนั้น นาย ก. มีคุณสมบัติเวลา

55 ตัวอย่างที่ 2 วิธีคำนวณ นาย ข. ตำแหน่ง น.วิทยาศาสตร์ ระดับ 6 ปฏิบัติ
งานในตำแหน่งเป็นเวลา 3 ปี ต่อมาศึกษาต่อจนสำเร็จ ป.โทและปฏิบัติหน้าที่หลังมีวุฒิ ป.โท อีก 3 ปี 2 เดือน นาย ข. มีคุณสมบัติเรื่องเวลาหรือไม่ ? วิธีคำนวณ ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1

56 ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2
ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 แทนค่า = 1 5 = 1 5 นาย ข. ไม่มีคุณสมบัติเวลา

57 ตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10
ต้องมีวุฒิปริญญาตรี และ ดำรงตำแหน่งชำนาญการ ระดับ 8 หรือเทียบเท่ามาแล้ว 3 ปี ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 ต้องมีวุฒิปริญญาตรี และ ดำรงตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 หรือเทียบเท่ามาแล้ว 2 ปี

58 การเทียบคุณสมบัติของข้าราชการ
การเทียบคุณสมบัติของ ขรก. ที่ดำรงตำแหน่งเป็นผู้บริหาร ระดับ 8 (หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้าฝ่าย ผู้อำนวยการกอง เลขานุการคณะ/หน่วยงาน)เพื่อใช้เป็นคุณสมบัติในการขอกำหนดตำแหน่งเป็นผู้เชี่ยว ชาญ ระดับ 9 เดิมเป็นอำนาจของ กม.(ชื่อเดิมในขณะนั้น)ต่อมา ได้มอบอำนาจมาที่ อกม. มหาวิทยาลัย ตามหนังสือ ทบวงฯ ที่ ทม 0202/ว 13 ลงวันที่ 28 ธค.2541

59 - การเทียบคุณสมบัติตามหนังสือเวียนนี้ เป็นการเทียบคุณสมบัติของข้าราชการเฉพาะตัว มิใช่การเทียบตำแหน่งที่ผู้นั้นครองอยู่ - ขรก.ทุกหน่วยงานมีสิทธิ์เสนอเรื่องให้ มหาวิท ยาลัย/สถาบัน เพื่อใช้ขอกำหนดตำแห่งเชี่ยว ชาญ ระดับ 9 - ผู้เสนอขอเทียบต้องครองระดับ 8 และมีความรู้ความสารถ ตลอดจนประสบการณ์จากการดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี

60 - ให้พิจารณาเทียบคุณสมบัติจากผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการในภาพรวมว่า เหมาะสมที่จะเทียบคุณสมบัติเป็นตำแหน่งชำนาญการหรือไม่ - โดยพิจารณาจาก ประเภท ของข่ายของงานที่รับผิดชอบ ปริมาณและคุณภาพของงานในภาพรวม - ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ เช่น คู่มือการปฏิบัติงาน ผลงานวิจัย ค้นคว้า การได้รับเชิญเป็นวิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้สอน ที่ปรึกษา คณะกรรมการต่างๆ

61 ผู้ที่ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้าฝ่าย ผู้อำนวยการกอง หรือ เลขานุการคณะ/หน่วยงาน
ระดับ 8 เมื่อใช้ผลงานเพื่อขอเทียบเป็นตำแหน่ง ชำนาญการ ระดับ 8 แล้วสามารถนำ... ผลงานที่ใช้ขอเทียบคุณสมบัติดังกล่าวไปเสนอขอกำหนดตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 ได้อีก * * หนังสือที่ ทม 0202/ว.13 ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2541

62 กรณีที่มิได้ดำรงตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ9 ให้เทียบคุณสมบัติข้าราชการ(ที่เป็นระดับ 9) เพื่อใช้เป็นคุณสมบัติในการขอกำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 ได้ดังนี้ ● ต้องดำรงตำแหน่งระดับ 9 และมีคุณวุฒิ ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า ● มีความรู้ ความสามารถ ตลอดจน ประสบการณ์จากการดำรงตำแหน่งที่ขอ เทียบคุณสมบัติมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ● ให้พิจารณาเทียบคุณสมบัติที่แสดงความ เป็นผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 ย้อนหลังได้ไม่ เกิน 2 ปี

63 ข้อห้ามของผลงานที่ใช้เสนอเทียบเป็นตำแหน่งชำนาญการ 8 และ เชี่ยวชาญ 9
ผลงานที่ใช้ขอเทียบต้องมิใช่เป็นส่วนหนึ่งของ การศึกษาและการฝึกอบรม 2. ผลงานที่ใช้ขอเทียบต้องไม่เคยใช้ประเมินแต่งตั้งระดับสูงขึ้นมาแล้ว

64 ก.พ.อ. กำหนดการประเมินการเข้าสู่ตำแหน่งระดับชำนาญการ ระดับเชี่ยวชาญ และ ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ การประเมินต้องดำเนินการ โดยคณะบุคคล และมีระดับตำแหน่งไม่ต่ำกว่าตำแหน่งที่เสนอขอหรือเทียบเท่า และองค์คณะบุคคลต้องมีความรู้ความสามารถตรงกับวิชาชีพที่เสนอขอ และเป็นบุคคลภายนอกสถาบันอุดมศึกษานั้นทั้งหมด

65 ทั้งนี้การประเมินผลงานโดยองค์คณะบุคคล ตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญ และระดับเชี่ยวชาญพิเศษ ต้องจัดให้มีการประชุมพิจารณาร่วมกันเพื่อให้มีการรับฟังข้อคิดเห็นซึ่งกันและกัน เกณฑ์การตัดสิน ต้องได้คะแนนเสียงข้างมาก เว้นแต่โดยวิธีพิเศษ ต้องได้คะแนน เสียงไม่น้อยกว่า 4 ใน 5 ของกรรมการประเมิน

66 เงินประจำตำแหน่งและค่าตอบแทน ผู้บริหารสายสนับสนุน
บาท/เดือน ตำแหน่ง เงินประจำตำแหน่ง ค่าตอบแทน 1) หัวหน้างาน/หัวหน้าฝ่าย ระดับ 8 - 3,500 2) ผู้อำนวยการการกอง ระดับ 8 5,600 3) เลขานุการคณะ/หน่วยงาน ระดับ 8 4) หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี ระดับ 8 ระดับ 9 10,000

67 เงินประจำตำแหน่งและค่าตอบแทน ผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
บาท/เดือน ตำแหน่ง เงินประจำตำแหน่ง ค่าตอบแทน 1) ชำนาญการ ระดับ 6 - 2) ชำนาญการ ระดับ 7 3) ชำนาญการ ระดับ 8 3,500 4) เชี่ยวชาญ ระดับ 9 9,900 9,90 5) เชี่ยวชาญ ระดับ 10 13,000

68 เงินประจำตำแหน่งและค่าตอบแทน ผู้ดำรงตำแหน่งวิชาชีพ
ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยที่จะได้รับเงินประจำตำแหน่งประเภทวิชาชีพ (วช.) ตั้งแต่ระดับ 7 ขึ้นไป จำนวน 26 สายงาน บาท/เดือน ตำแหน่ง เงินประจำตำแหน่ง ค่าตอบแทน 1) วิชาชีพ ระดับ 7 3,500 - 2) วิชาชีพ ระดับ 8 5,600 3) วิชาชีพ ระดับ 9 9,900

69 THE END Tel


ดาวน์โหลด ppt ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google