ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มกราคม 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 32.20% สพฉ % สวรส %
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 เมษายน 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 57.58% สพฉ % สปสช %
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 กรกฎาคม 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 82.38% สพฉ % สวรส %
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 49.31% สพฉ % สวรส %
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 2555 ฎีกา 1 –64 31 มกราคม 2555
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
เป้าหมายและผลการดำเนินงานที่สำคัญ
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ข้อมูลค่าซ่อมแซมยานพาหนะ ( ) สำหรับรถยนต์อายุการใช้งาน 14 ปีขึ้นไป
รายงานแผนการปฏิบัติงาน สำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ลำปาง.
รายงานสถานภาพงบประมาณ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ประชุมผู้บริหารกรม ทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 4/2550 วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2550 เวลา น.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
หมวด รายจ่าย รวม 9, , , , , , , งบ บุคลากร 4, , ,
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
สิบเอ็ดประตูเมืองงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมสาเกต บุญผะเหวดประเพณี มหาเจดีย์ชัยมงคล งามน่ายลบึงพลาญชัย เขตกว้างไกลทุ่งกุลา.
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
แผน 2 การแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 65.87% สพฉ % สวรส %
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
รายงานผลการ ดำเนินงาน และผลการใช้จ่ายเงิน งบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2553 “ กลุ่มตรวจสอบภายใน ” โดย นางละเอียด เอี่ยมสุวรรณ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ผลการดำเนินงาน Pap Smear (1 ต. ค.52 – 31 ก. ค.57) อำเภอเป้าหมายผลงานอัตรา ( ร้อย ละ ) เมือง 29,050 21, เขาย้อย 8,9556, หนองหญ้า ปล้อง 3,2872,
วาระที่ รายงานภาวการณ์ลงทุนในช่วง 5 เดือนแรก ปี 2556.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมตั้งแต่เดือน ม. ค.– ก. ค. 56 เพิ่มขึ้น 29 % +1% +29% จำนวน โครงการ เงินลงทุน พันล้าน บาท 1,184 1,
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมตั้งแต่เดือน ม. ค. - ก. พ. 56 ลดลง 7 %
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพมหานคร วันที่ 4 กันยายน 2555 สำนักงาน ป.ป.ส. 1

แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด เป้าหมายของแผน 1. นำผู้เสพติดเข้ารับการบำบัดรักษา 400,000 ราย 2. ติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษาไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ 80% สมัครใจ 330,000 ราย บังคับบำบัด 50,000 ราย ต้องโทษ 20,000 ราย ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 300,000 ราย งบประมาณ : 1,944,527,540 บาท - งบฯ ปปส. 447,266,295 บาท - งบฯ ท้องถิ่น 1,008,875,000 บาท - งบฯ กรมการปกครอง 112,484,145 บาท แบบควบคุมตัว 17,760 ราย ไม่ควบคุมตัว 69,840 ราย งบประมาณ : 613,020,200 บาท เรือนจำ/ทัณฑสถาน 15,000 ราย สถานพินิจและศูนย์ฝึกอบรมฯ 3,200 ราย - งบประมาณ : 23,516,700 บาท สถานบริการ สธ. จำนวน 29,700 ราย งบประมาณ : 419,917,500 บาท 2

แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด เป้าหมาย ผล % (11 กันยายน 2554 – 2 กันยายน 2555) ผลการปฏิบัติรองรับปฏิบัติการ (Input) เป้าหมาย ผล % 1. ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (1 อำเภอ 1 ค่าย) 928 แห่ง 1,510 แห่ง 162.72 2. วิทยากรค่ายปรับเปลี่ยนต้นแบบ (ครู ก) 77 ชุด 77 ชุด 100.00 3. วิทยากรค่ายปรับเปลี่ยนระดับอำเภอ (ครู ข) 2,130 ชุด 229.53 4. ศูนย์ติดตามแบบครบวงจรอำเภอ 2,236 แห่ง 240.95 5. ศูนย์ฟื้นฟูฯ บังคับบำบัดแบบควบคุมตัว 35 3 แห่ง 8.57 6. โรงเรียนวิวัฒน์พลเมืองฝ่ายปกครอง ระบบสมัครใจ 76 76 แห่ง 100

แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด (11 กันยายน 2554 – 2 กันยายน 2555) ผลการนำผู้เสพติดเข้าบำบัดรักษา ผู้เข้ารับการบำบัดรักษา จำนวน 493,916 ราย (123.48%) สมัครใจ บังคับ ต้องโทษ 340,945 ราย 136,452 ราย 16,519 ราย ** จากระบบสารสนเทศกรมคุมประพฤติ - ตรวจพิสูจน์ : 170,453 ราย ฟื้นฟูฯ : 155,849 ราย (ณ วันที่ 1 ต.ค. 54- 2 ก.ย.55) ค่ายฯ : 208,094 ราย -ค่าย ศพส. : 187,054 ราย - มาตราการ 315 : 5,173 ราย ค่าย นร.นศ. : 3,601 ราย จิตสังคมบำบัดในรร. : 12,266 ราย ก.สธ. : 132,851 ราย 4

ผลการติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษา เป้าหมาย 80 % เป้าหมาย 80 % (11 กันยายน 2554 – 2 กันยายน 2555) ผู้เข้ารับการบำบัดรักษา จำนวน 493,916 ราย ติดตามผู้ผ่านการบำบัดฯ จำนวน 205,189 ราย (41.54%) ระบบ บสต. (สมัครใจ+บังคับ+ต้องโทษ) 86,376 ราย ระบบ ศพส. (ผู้ผ่านค่ายฯ) 118,813 ราย จากผู้ผ่านการบำบัดครบกำหนด จำนวน 150,995 ราย - ผลการติดตามแยกตามระบบ -- ต้องโทษ 65% -- สมัครใจ 56% -- บังคับ 51% - ผลการติดตามครั้งที่ 1 -- หยุดเสพได้ 73,125 ราย (84.66%) -- เสพซ้ำ 2,950 ราย (3.42%) - การศึกษา 26,056 ราย - ฝีกอาชีพ 51,221 ราย - จัดหางานให้ทำ 26,619 ราย - ให้ทุนประกอบอาชีพ 11,269 ราย

ผลการนำผู้เสพติดเข้าบำบัดรักษาภาพรวม จำแนกเป็นรายภาค ปปส.ภ. เป้ารวม ผลรวม สมัครใจ บังคับบำบัด ต้องโทษ รวม 400,000 493,916 (123%) 340,945 (85) 136,452 (34) 16,519 (4) ภาค 1 47,200 49,637 (105%) 32,808 (70%) 14,120 (30%) 2,709 (6%) ภาค 2 44,400 58,624 (132%) 36,005 (81%) 20,839 (47%) 1,780 (4%) ภาค 3 42,400 66,297 (156%) 47,569 (112%) 16,466 (39%) 2,262 (5%) ภาค 4 37,200 72,909 (196%) 53,075 (143%) 18,824 (51%) 1,010 (3%) ภาค 5 27,200 38,428 (141%) 25,806 (95%) 11,270 (41%) 1,352 (5%) ภาค 6 24,800 40,296 (162%) 30,483 (123%) 8,139 (33%) 1,674 (7%) ภาค 7 50,000 52,298 (105%) 35,532 (71%) 14,604 (29%) 2,162 (4%) ภาค 8 27,600 35,852 (130%) 29,603 (107%) 4,727 (17%) 1,522 (6%) ภาค 9 47,189 (173%) 39,424 (145%) 6,409 (24%) 1,356 (5%) กทม. 72,000 32,386 (45%) 10,640 (15%) 21,054 (29%) 692 (1%)

สรุปผลการจัดค่ายฯ (ค่าเฉลี่ยจำนวนผู้เข้าค่ายประมาณ 30-70 คนต่อค่าย) ปปส.ภาค จำนวนค่าย จำนวนผู้เข้าค่าย อัตราส่วนผู้เข้าค่ายแต่ละครั้ง รวม 1,510 178,781 58 ภาค 1 131 12,972 53 ภาค 2 99 16,705 87 ภาค 3 268 28,818 ภาค 4 291 32,452 51 ภาค 5 152 8,702 31 ภาค 6 157 19,666 77 ภาค 7 133 19,316 78 ภาค 8 144 14,401 43 ภาค 9 24,186 76 กทม. 4 1,563 391

ข้อมูลที่ซ้ำซ้อน จำนวน 75,275 ราย ศพส. บสต. เลข 13 หลัก ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ ศพส. บสต. เลข 13 หลัก จำนวน 75,275 ราย

ปปส.ภาค เป้าหมาย รวม ผลงาน 3 ระบบ รายชื่อซ้ำ กัน (ราย) ซ้ำกับ สมัครใจ บังคับ ต้องโทษ 400,000 452,325 75,275 63,524 11,276 475 ภาค 1 47,200 44,669 3,509 3,078 420 11 ภาค 2 44,400 55,339 6,355 5,619 717 19 ภาค 3 42,400 59,406 10,471 8,519 1,895 57 ภาค 4 37,200 64,937 12,708 9,482 3,153 73 ภาค 5 27,200 34,652 5,975 5,146 815 14 ภาค 6 24,800 38,219 5,876 4,938 900 38 ภาค 7 50,000 47,567 11,530 8,906 2,438 186 ภาค 8 27,600 33,632 10,646 10,251 349 46 ภาค 9 44,846 8,205 7,585 589 31 กทม. 72,000 29,058

ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งประเทศ จำแนกตามการเข้ารับการบำบัดฯ

ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งประเทศ จำแนกตามระดับความรุนแรงของการเสพ

ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งประเทศ จำแนกตามรูปแบบการบำบัด

การวิเคราะห์ ปัญหาการดำเนินงาน

- เครื่องมือในการคัดกรองยังขาดความชัดเจน ในบางพื้นที่ใช้ คุณภาพการดำเนินงาน 1. การค้นหา - มาตรการทางสังคม (การทำประชาคม) ไม่สามารถกดดันให้ผู้เสพ สมัครใจเข้าบำบัดได้ จึงต้องใช้การตรวจปัสสาวะเป็นหลัก และเร่งระดม ดำเนินการอาจทำให้มีการนำกลุ่มเสี่ยงปะปนเข้ามาในค่ายฯ ได้ 2. การคัดกรอง - เครื่องมือในการคัดกรองยังขาดความชัดเจน ในบางพื้นที่ใช้ ความรู้สึก ประสบการณ์ แยกเฉพาะผู้ที่มีอาการทางจิตเป็นหลัก

คุณภาพการดำเนินงาน 3. การจัดค่ายฯ - บางพื้นที่ลดเวลาในจัดค่ายฯ ลงจาก 9 วัน - ไม่มีกระบวนการประเมินก่อนออกจากค่ายฯ 4. การติดตามฯ - ขาดการบูรณาการในพื้นที่ เน้นการติดตามแยกตามระบบการบำบัด และบางพื้นที่เน้นการติดตามฯ ผู้ผ่านค่ายเป็นหลัก และยังขาดการดำเนินงาน ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ผ่านการบำบัดฯ

1. ระบบข้อมูลของจังหวัด : การบริหารจัดการ 1. ระบบข้อมูลของจังหวัด : - ไม่มีการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลด้าน Demand ทั้งในระดับจังหวัดและอำเภอ และ ยังขาดความชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทการเป็นเจ้าภาพหลักในการบริหารจัดการฯ - การรายงานข้อมูลผลการนำผู้เสพติดเข้าบำบัดรูปแบบค่ายฯ ระหว่างระบบ รายงาน ศพส. และบสต.ยังไม่สอดคล้องกัน เนื่องจากความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน 2. วิทยากรการจัดทำค่ายฯ - วิทยากรครู ข ส่วนใหญ่ไม่มีศักยภาพเพียงพอ หลายอำเภอจัดค่ายโดย วิทยากรครู ก เป็นหลัก - การจัดค่าย 1 ครั้ง ต้องระดมสรรพกำลังไม่น้อยกว่า 20 คน ต่อ ค่าย

การบริหารจัดการ 3. งบประมาณ - ในปี 2555 มีความล่าช้า ทยอยลงจังหวัด ทำให้ต้องเร่งดำเนินการ ในช่วงปลายงบประมาณ ซึ่งอาจจะส่งผลคุณภาพในการจัดค่ายฯ - งบฯ ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีเงื่อนไขมาก และขาด ความยืดหยุ่น