บทที่ 5 การวางแผนการผลิต
การวางแผนการผลิต แผนการขาย นโยบายสินค้าคงคลัง แผนการผลิต/ งบประมาณการผลิต การวางแผนวัตถุดิบ การวางแผนแรงงาน การวางแผน OH
ความรับผิดชอบในการวางแผนการผลิต ผู้บริหารระดับสูง ผู้จัดการฝ่ายผลิต หรือ หัวหน้าฝ่ายผลิต หัวหน้าฝ่ายงบประมาณ
ปัจจัยที่ต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนการผลิต ปริมาณการขายตามแผนการขาย นโยบายสินค้าคงเหลือ และนโยบายเกี่ยวกับการผลิต ความเพียงพอของกำลังการผลิต ความสามารถในการจัดหาวัตถุดิบ
ปัจจัยที่ต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนการผลิต งวดเวลาของการผลิต นโยบายการว่าจ้างคนงาน ความเพียงพอของอุปกรณ์การผลิต การกระจายปริมาณการผลิตตลอดปีงบประมาณ
รูปแบบของแผนการผลิต นโยบายการผลิตคงที่ นโยบายสินค้าคงที่ นโยบายการผลิตและสินค้าคงเหลือยืดหยุ่นได้
ลักษณะของการวางแผนการผลิตที่ดี Flexible Simple and Understandable Economical Effective Pre-Planning & Corrective Action ต้องมีระบบรายงานที่มีความคล่องตัว รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเพียงพอและตรงตามเวลาที่ต้องการ
การกำหนดนโยบายสินค้าคงเหลือ ความต้องการของฝ่ายขาย ความคงทนของสินค้า ระยะเวลาการผลิต ความสะดวกในการเก็บรักษาสินค้า และค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา เงินทุนในการมีสินค้าคงเหลือ
การกำหนดนโยบายสินค้าคงเหลือ ความเสี่ยงต่อวัตถุดิบขาดแคลน ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนแรงงาน ความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงราคาปัจจัยการผลิต ความเสี่ยงเกี่ยวกับสินค้า
วิธีกำหนดสินค้าคงเหลือ เปรียบเทียบกับยอดขาย ระบุระดับสูงสุดของปริมาณสินค้าคงเหลือ ระบุปริมาณสินค้าคงเหลืออยู่ในช่วงระหว่างปริมาณที่กำหนดสูงสุดและต่ำสุด ระบุปริมาณสินค้าคงเหลือจำนวนที่แน่นอน กำหนดอัตราหมุนเวียนสินค้าคงคลังต่อปี
ประโยชน์ของการวางแผนการผลิต เกิดความคล่องตัวในการผลิต จัดส่งสินค้าได้ตามกำหนด ได้รับความเชื่อถือจากลูกค้า ลดต้นทุนให้อยู่ในระดับต่ำสุด ลดปัญหาสินค้าขาดมือ วางแผนเรื่องงบประมาณได้ใกล้เคียงกับข้อเท็จจริง
ประโยชน์ของการวางแผนการผลิต วางแผนขยายกำลังการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้เกิดการประสานงาน ช่วยเรื่องการควบคุมการทำงานของฝ่ายผลิต ทำให้การปฏิบัติงานมีระเบียบแบบแผน ลดการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า