เงินนอกงบประมาณ โดย นางชูใจ บุญสุยา
การบริหารงานการเงินในสถานศึกษา เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้แผ่นดิน
เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้สถานศึกษา เงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินบริจาคโดยมีวัตถุประสงค์ เงินประกันสัญญา เงินอุดหนุนทั่วไป (คชจ.รายหัว, เงินปัจจัยฯ)
3. เงินรายได้แผ่นดิน ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร ค่าขายของเบ็ดเตล็ด ค่าธรรมเนียมเบ็ดเตล็ด ค่าปรับอื่น เงินรายได้เบ็ดเตล็ด เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน
อัตราเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัวที่ทยอยปรับเพิ่มภายใน 3 ปี อัตราเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัวที่ทยอยปรับเพิ่มภายใน 3 ปี ระดับสถานศึกษา อัตราเดิม (ต่อคน/ภาค) ปีการศึกษา (ต่อคน/ต่อภาค) 2550 2551 2552 ก่อนประถม 300 483 666 850 ประถมศึกษา 550 683 816 950 ม. ต้น 900 1,183 1,466 1,750 ม.ปลาย 1,350 1,533 1,716 1,900 และจัดสรรเพิ่มเติมให้อีกสำหรับ ร.ร. ขนาดเล็ก จำนวน นร. < = 120 คน ระดับประถมศึกษา คนละ 250 คน ระดับมัธยมศึกษา คนละ 500 คน
การดำเนินงานบริหารการเงิน มี 4 ขั้นตอน 1. การเบิก – รับ – จ่ายเงิน 2. การเก็บรักษา และนำฝากหรือนำส่ง 3. การบันทึกบัญชี และการรายงาน 4. การควบคุมและตรวจสอบ
1. การเบิก – รับ - จ่ายเงิน 1.1 การเบิก เงินที่สถานศึกษา ได้รับแจ้งวงเงินจัดสรร เงินที่สถานศึกษา ได้รับเป็นตัวเงิน เงินงบกลาง
1.2 การรับเงิน วิธีการรับเงิน หลักฐานการรับเงิน 1.3 การจ่ายเงิน วิธีการจ่ายเงิน หลักฐานการจ่ายเงิน การหักภาษี ณ ที่จ่าย
2. การเก็บรักษาเงินและการนำฝากหรือนำส่ง 2.1 การเก็บรักษาเงิน เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินฝากคลัง การแต่งตั้งคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน
2.2 การนำฝากเงิน ประเภทเงินที่นำฝาก วิธีปฏิบัติในการนำฝากเงิน 2.3 การนำส่งเงิน ประเภทเงินที่นำส่ง วิธีปฏิบัติในการนำส่ง
3. การบันทึกบัญชี และการรายงาน 3.1 การบันทึกบัญชี 1) ระบบบัญชี 2) เอกสารประกอบรายการ - ใบเสร็จรับเงิน (บร.) - ใบเบิกถอน (บถ.) - ใบนำฝาก (บฝ.)
- ใบเสร็จรับเงินของบุคคลภายนอก(บจ.) - ใบสำคัญรับเงิน (บค.) - สมุดคู่ฝาก 3) ทะเบียนคุมต่างๆ - ทะเบียนคุมการรับและนำส่งเงินรายได้แผ่นดิน - ทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินฝาก - ทะเบียนคุมเอกสารแทนตัวเงิน - ทะเบียนคุมหลักฐานการจ่าย - ทะเบียนคุมหลักฐานขอเบิก
4) การเริ่มต้นปฏิบัติตามระบบบัญชี - สำรวจยอดเงินคงเหลือ - จัดเตรียมสมุดบัญชี, ทะเบียนคุมและเอกสารที่ ใช้ในการบันทึกบัญชี - จัดทำบันทึกการเปิดบัญชี - ลงรายการในทะเบียนต่างๆ
- รายงานเงินคงเหลือประจำวัน - รายงานเงินนอกงบประมาณ ทุกสิ้นเดือน 5) การบันทึกรายการ - เงินงบประมาณ - เงินนอกงบประมาณ - เงินรายได้แผ่นดิน 3.2 การรายงาน - รายงานเงินคงเหลือประจำวัน - รายงานเงินนอกงบประมาณ ทุกสิ้นเดือน - บันทึกการรับเงินเพื่อเก็บรักษา
4. การควบคุมและตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบการรับ – จ่าย ประจำวัน การตรวจสอบ ทุกสิ้นวัน การตรวจสอบ ทุกวันเดือน