ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความต้องการกำลังคนสาขาระบบสมองกลฝังตัว
Advertisements

การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
การสัมมนาการจัดการความรู้ในองค์การ(KM) ครั้งที่ 6
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Co-operative education
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
STAFFS อาจารย์ แพทย์ใช้ทุน เจ้าหน้าที่ Ph.D. (9) M.Sc. (3)
การประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ ครั้งที่ 9/2551 วันพฤหัสบดีที่ 21 สิงหาคม 2551 เวลา น. ณ ห้องประชุม 801 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
. หน่วยบริหารจัดการประมงน้ำจืดเขื่อนแม่กวง เชียงใหม่
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ประกอบด้วย 4 วิทยาเขต
แนะนำกรรมการ หลักสูตร แผนการเรียน กิจกรรมพิเศษ สิ่งอำนวยความสะดวก.
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
70 th Anniversary of URU Goal : The University of Quality สู่ มหาวิทยาลัยคุณภาพได้มาตรฐานระดับชาติ สคน. การบรรยายพิเศษ “ นโยบายด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา.
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2550 กลุ่มงานส่งเสริมภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทิศทางการปฏิรูปองค์กร
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
คณะเกษตรศาสตร์ มช. ทำไมต้องหลอมรวม??? พิทยา สรวมศิริ 6 มิถุนายน 2546.
ภาพรวมงานวิจัยหน่วยงาน
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Cooperative Education
วิทยาลัยเทคนิคพิจิตร ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
วิสัยทัศน์ เป็นเลิศด้าน วิชาการ รับใช้ สังคม 50 ของเอเชีย เป้าหมาย ร่วมพัฒนาพื้นที่และประเทศอย่างยั่งยืน จัดการศึกษา มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ พัฒนางานวิจัย.
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
สัมมนาบุคลากรสายปฏิบัติการ ประจำปี 2554 วันที่ กันยายน 2554 เวลา – น. ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ ต. บ้านหลวง อ. จอมทอง จ. เชียงใหม่
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สรุปผลการดำเนินงาน ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลการดำเนินงานภาควิชาพืชไร่ ปี 2548 ผลการดำเนินงานภาควิชาพืชไร่ ปี 2548 ด้านบุคลากร ด้านการเรียนการสอน ด้านงานวิจัย ด้านงานอื่นๆ ด้านความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ด้านสหกิจศึกษา

สรุปผลการดำเนินงาน ด้านบุคลากร

ด้านบุคลากร สาย ก. จำนวน 16 คน สาย ข. , ค. และพนักงานมหาวิทยาลัย สาย ก. จำนวน 16 คน สาย ข. , ค. และพนักงานมหาวิทยาลัย จำนวน 6 คน ลูกจ้างประจำ จำนวน 26 คน รวมทั้งหมด 48 คน

บุคลากรสาย ก. รวม 16 7 9 ตำแหน่ง จำนวน คุณวุฒิ โท เอก อาจารย์ 4 2 บุคลากรสาย ก. ตำแหน่ง จำนวน คุณวุฒิ โท เอก อาจารย์ 4 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ 5 3 ศาสตราจารย์ 1 รวม 16 7 9

บุคลากรสาย ก. เกษียณอายุราชการ บุคลากรสาย ก. เกษียณอายุราชการ ปี 2548 จำนวน 2 ท่าน ปี 2549 จำนวน 3 ท่าน

บุคลากรสาย ข. , ค. และพนักงานมหาวิทยาลัย บุคลากรสาย ข. , ค. และพนักงานมหาวิทยาลัย ตำแหน่ง จำนวน คุณวุฒิ ตรี โท เอก นักวิชาการ 3 - นักวิทยาศาสตร์ 1 เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เจ้าหน้าที่บริหารงาน รวม 6 2

สรุปผลการดำเนินงาน ด้านการเรียนการสอน

ด้านการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี มีกระบวนวิชาที่เปิดสอนมีจำนวน 18 กระบวนวิชา ระดับบัณฑิตศึกษา มีกระบวนวิชาที่เปิดสอนมีจำนวน 25 กระบวนวิชา

โครงการสำคัญในระดับบัณฑิตศึกษา โครงการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชไร่ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.)

จำนวนนักศึกษาทั้งหมด ระดับปริญญาตรี จำนวน 46 คน ระดับปริญญาโท จำนวน 55 คน ระดับปริญญาเอก จำนวน 33 คน -ทุน คปก. จำนวน 14 คน -ทุนพัฒนาอาจารย์ จำนวน 2 คน รวมทั้งหมด 134 คน

สรุปผลการดำเนินงาน ด้านงานวิจัย

ภาควิชาพืชไร่ มีโครงการวิจัยทั้งหมด 21 โครงการย่อย โครงการวิจัยในปี 2548 ภาควิชาพืชไร่ มีโครงการวิจัยทั้งหมด 21 โครงการย่อย งบประมาณทั้งสิ้น 20,121,095 บาท

งานวิจัยที่โดดเด่น โครงการ หัวหน้าโครงการ งบประมาณ การอนุรักษ์และการจัดการเชื้อพันธุ์ข้าวไทย ในท้องถิ่น ศ.ดร.เบญจวรรณ 36,000,000 ศึกษาความเป็นไปได้ของการปลูกพืชน้ำมันและพัฒนารูปแบบการผลิตพลังงานจากพืชแบบครบวงจร รศ.ดร.พรชัย 50,000,000

งานวิจัยที่โดดเด่น โครงการ หัวหน้าโครงการ งบประมาณ โครงการ คปก. โครงการ คปก. รศ.ดร.ศันสนีย์ 6,000,000 การรวบรวมพันธุ์ข้าวไร่พื้นเมืองที่ปลูกในเขต ต.แม่สลอง อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย รศ.ดร.ดำเนิน 620,000 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการพัฒนาและการจัดการทรัพยากร จ.แม่ฮ่องสอน ผศ.ดร.ศักดิ์ดา 3,000,000

สรุปผลการดำเนินงาน ด้านงานอื่นๆ

งานอื่นๆ โครงการพัฒนาสนับสนุนนักศึกษา โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โครงการบริการวิชาการ โครงการพัฒนา e-learning สนับสนุนงานต่างๆของคณะ

โครงการพัฒนาสนับสนุนนักศึกษา โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาวิชาเอกประจำปี 2548 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ในการปฏิบัติการเบื้องต้น

โครงการพัฒนาสนับสนุนนักศึกษา โครงการจัดบรรยายพิเศษโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่างทั้งในและต่างประเทศ

โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งานรดน้ำดำหัว

โครงการบริการวิชาการ ผู้รับผิดชอบ โครงการบริการวิชาการ ผู้รับผิดชอบ บรรยายเรื่อง “Food security and Nutrition” ศ.ดร.เบญจวรรณ การปรับปรุงเทคโนโลยีการปลูกข้าวไร่ที่บ้านแม่แสนใจใหม่ ต.แม่สลอง อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย รศ.ดร.ดำเนิน การผลิตชุดวิชาสารสนเทศเพื่อการจัดการการผลิตพืช ผศ.ดร.ศักดิ์ดา การเพิ่มผลผลิตข้าวภายใต้การจัดการแบบเกษตรดีที่เหมาะสม อบต.ป่าสัก อ.เมือง จ.ลำพูน ผศ.ทรงเชาว์ การใช้น้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียเทศบาลในการเพาะปลูกพืช ต.ป่าแดด และ ต.สันผักหวาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่

ด้านความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน สรุปผลการดำเนินงาน ด้านความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน

ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ 1. Murdoch University 2. The University of Georgia 3. Goettingen University 4. Yunnan Agricultural University 5. The International Rice Research Institute 6. Hohenheim University

สรุปผลการดำเนินงาน ด้านสหกิจศึกษา

ด้านสหกิจศึกษา การคัดเลือกนักศึกษา พิจารณาจากเกรดเฉลี่ยสะสมและการสอบสัมภาษณ์ เกณฑ์การให้ลำดับขั้น สถานที่ฝึกงาน 70 เปอร์เซ็นต์ คณะกรรมการสหกิจของภาควิชา 30 เปอร์เซ็นต์

ด้านสหกิจศึกษา ระยะเวลาการฝึกงาน เดือนมิถุนายน - สิงหาคม เป็นระยะเวลา 3 เดือน (ภาคเรียนที่ 1 ของแผนการเรียนชั้นปีที่ 4) สถานที่ฝึกงาน ภาคเอกชน บริษัทมอนซานโต้ (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัทกรุงเทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จำกัด บริษัทแอดวาสด์อะโกร(เครือดับเบิ้ลเอ) จำกัด มหาชน บริษัทลานนาเกษตรอุตสาหกรรม จำกัด สหกรณ์การเกษตร

ด้านสหกิจศึกษา / สถานที่ฝึกงาน ด้านสหกิจศึกษา / สถานที่ฝึกงาน ภาครัฐ ศูนย์ปฏิบัติการสงเคราะห์สวนยางจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำพูน ศูนย์บริการวิชาการด้านพืชและปัจจัยการผลิตพิษณุโลก และสุโขทัย ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ นครสวรรค์ สุพรรณบุรี และขอนแก่น สถานีทดลองยาสูบแม่โจ้เชียงใหม่ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ ศูนย์วิจัยยางหนองคาย

ด้านสหกิจศึกษา การตรวจสอบ ระหว่างการฝึกงาน คกก.จะเดินทางไปเยี่ยมตรวจสอบนักศึกษา อย่างน้อย 1 ครั้ง การลงทะเบียนของนักศึกษา ตามแผนการเรียน ภาคเรียนที่ 1 ชั้นปีที่ 4 353390 วิชาสหกิจศึกษา* 3 หน่วยกิต 353497 วิชาสัมมนา 1 หน่วยกิต 353499 วิชาปัญหาพิเศษ 3 หน่วยกิต รวม 7 หน่วยกิต

ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จบการนำเสนอ ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่