ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

ระดับ เขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต ๑
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
ปฐมนิเทศ การเขียนโปรแกรม ง30202.
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน่วยที่ 4.
การพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทย
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
หลักการพัฒนา หลักสูตร
มอบโลกใบใหม่ แห่งการเรียนรู้แก่ผู้สูงวัย
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
การประเมินผลการเรียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หน่วย การเรียนรู้.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
สาระการเรียนรู้คริสต์ศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ยกระดับคุณภาพครูให้เป็น
My school.
การประชุมผู้ปกครองนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ เรื่อง “กำหนดการสอบและเอกสารการศึกษา”” โดย นางพรรณี จินตมาศ.
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน
My school.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
การเขียนข้อเสนอโครงการ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.1 ปีการศึกษา 2557
การเขียนรายงาน.
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
ระบบการ ดำเนินการใน โรงเรียน 1. ระบบบริหารจัดการ 2. ระบบการเรียนการสอน 3. ระบบการวัดผลประเมินผล 4. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. ระบบงานกิจกรรมนักเรียน.
หลักการเขียนโครงการ.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
การจัดทำคำอธิบายรายวิชา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์  1  นางนที คงประพันธ์  ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ จังหวัดราชบุรี

ขอขอบพระคุณ รศ.ดร.วาสนา คุณาอภิสิทธิ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน 2

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 3 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 3

 โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตร  และโรงเรียนที่มีความพร้อม ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ประกาศใช้ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ใช้ครบทุกระดับชั้น 4

 โรงเรียนทั่วไป  ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ประกาศใช้ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ใช้ครบทุกระดับชั้น 5

จุดหมายของหลักสูตร ข้อ ๓ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 6

 มาตรฐานการเรียนรู้  ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ที่ต้องการ ให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และที่สำคัญจะใช้มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ เพื่อประกันคุณภาพการศึกษา 7

 ตัวชี้วัด  สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ แต่มีความเฉพาะเจาะจง เป็นรูปธรรม  การกำหนดเนื้อหา  จัดทำหน่วยการเรียนรู้  จัดการเรียนการสอน  วัดและประเมินผล เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน 8

 ลักษณะตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางฯ ใช้ภาษาง่าย ๆ มีความชัดเจน ไม่ซ้ำซ้อน สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ เหมาะสมกับทุกระดับชั้น 9

ตัวชี้วัดของระดับการศึกษาภาคบังคับ (ป. ๑ - ม ตัวชี้วัดของระดับการศึกษาภาคบังคับ (ป.๑ - ม.๓) “ตัวชี้วัดเป็นชั้นปี”  ตัวชี้วัดระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ - ม.๖) “ตัวชี้วัดเป็นช่วงชั้น”  10

ปัญหา : ตัวชี้วัดระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย “ตัวชี้วัดเป็นช่วงชั้น” กำหนดไว้กว้าง ๆ ขาดความชัดเจน นำไปสู่การปฏิบัติยาก 11

 สาระการเรียนรู้แกนกลาง มีความสอดคล้องกับตัวชี้วัด 12  สาระการเรียนรู้แกนกลาง มีความสอดคล้องกับตัวชี้วัด 12

ตัวชี้วัด : เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลอย่างละ ๑ ชนิด โดยใช้เทคนิคที่เหมาะสมกับตนเองและทีม สาระการเรียนรู้แกนกลาง : เทคนิคและวิธีการเล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ที่เลือก เช่น กรีฑาประเภทลู่และลาน วอลเลย์บอล บาสเกตบอล ดาบสองมือ เทนนิสตะกร้อข้ามตาข่าย ฟุตบอล 13

โครงสร้างเวลาเรียน  ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  ๘๐ ชั่วโมง/ปี (๒ นก โครงสร้างเวลาเรียน  ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  ๘๐ ชั่วโมง/ปี (๒ นก.) หรือ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน (๑ นก.)  ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  ๑๒๐ ชั่วโมง/๓ปี (๓ นก.) หรือ ๔๐ ชั่วโมง/ปี หรือ ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน 14

ปัญหา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๒๐ ชั่วโมง/๓ ปี (๓ นก ปัญหา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๒๐ ชั่วโมง/๓ ปี (๓ นก.) หรือ ๔๐ ชั่วโมง/ปี หรือ ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน โครงสร้างเวลาเรียนไม่สอดคล้องกับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 15

 ข้อเสนอแนะ  แก้ไขโครงสร้างเวลาเรียนให้เป็น ๘๐ ชั่วโมง/ปี (๒ นก  ข้อเสนอแนะ  แก้ไขโครงสร้างเวลาเรียนให้เป็น ๘๐ ชั่วโมง/ปี (๒ นก.) หรือ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน (๑ นก.) รายวิชาพื้นฐาน จาก ๑,๕๖๐ + ๑๒๐ = ๑,๖๘๐ รายวิชาเพิ่มเติม จาก ๑,๖๘๐ - ๑๒๐ = ๑,๕๖๐ 16

 การวัดและประเมินผล  ตัดสินผลการเรียนเป็นรายภาค ประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน สอดแทรกอยู่ในมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น 17

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา : ส่วนกลางให้แนวคิดและแนวปฏิบัติ สถานศึกษายืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม ใช้มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดเป็นเป้าหมาย ในการออกแบบหลักสูตร การเรียนการสอนและการประเมินผล 18

ปัญหา : เอกสารเกี่ยวกับหลักสูตร มีจำนวนจำกัด 19 ปัญหา : เอกสารเกี่ยวกับหลักสูตร มีจำนวนจำกัด 19

ปัญหา : ครูผู้สอน การกำหนดเนื้อหา การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ไม่สอดคล้องกับตัวชี้วัด  20

 ข้อเสนอแนะ  จัดอบรมเชิงปฏิบัติให้บุคลากร ในเรื่องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้  21

สวัสดีค่ะ สวัสดีค่ะ