ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ 1 นางนที คงประพันธ์ ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ จังหวัดราชบุรี
ขอขอบพระคุณ รศ.ดร.วาสนา คุณาอภิสิทธิ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน 2
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 3 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 3
โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตร และโรงเรียนที่มีความพร้อม ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ประกาศใช้ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ใช้ครบทุกระดับชั้น 4
โรงเรียนทั่วไป ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ประกาศใช้ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ใช้ครบทุกระดับชั้น 5
จุดหมายของหลักสูตร ข้อ ๓ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 6
มาตรฐานการเรียนรู้ ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ที่ต้องการ ให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และที่สำคัญจะใช้มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ เพื่อประกันคุณภาพการศึกษา 7
ตัวชี้วัด สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ แต่มีความเฉพาะเจาะจง เป็นรูปธรรม การกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน วัดและประเมินผล เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน 8
ลักษณะตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางฯ ใช้ภาษาง่าย ๆ มีความชัดเจน ไม่ซ้ำซ้อน สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ เหมาะสมกับทุกระดับชั้น 9
ตัวชี้วัดของระดับการศึกษาภาคบังคับ (ป. ๑ - ม ตัวชี้วัดของระดับการศึกษาภาคบังคับ (ป.๑ - ม.๓) “ตัวชี้วัดเป็นชั้นปี” ตัวชี้วัดระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ - ม.๖) “ตัวชี้วัดเป็นช่วงชั้น” 10
ปัญหา : ตัวชี้วัดระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย “ตัวชี้วัดเป็นช่วงชั้น” กำหนดไว้กว้าง ๆ ขาดความชัดเจน นำไปสู่การปฏิบัติยาก 11
สาระการเรียนรู้แกนกลาง มีความสอดคล้องกับตัวชี้วัด 12 สาระการเรียนรู้แกนกลาง มีความสอดคล้องกับตัวชี้วัด 12
ตัวชี้วัด : เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลอย่างละ ๑ ชนิด โดยใช้เทคนิคที่เหมาะสมกับตนเองและทีม สาระการเรียนรู้แกนกลาง : เทคนิคและวิธีการเล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ที่เลือก เช่น กรีฑาประเภทลู่และลาน วอลเลย์บอล บาสเกตบอล ดาบสองมือ เทนนิสตะกร้อข้ามตาข่าย ฟุตบอล 13
โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๘๐ ชั่วโมง/ปี (๒ นก โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๘๐ ชั่วโมง/ปี (๒ นก.) หรือ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน (๑ นก.) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๒๐ ชั่วโมง/๓ปี (๓ นก.) หรือ ๔๐ ชั่วโมง/ปี หรือ ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน 14
ปัญหา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๒๐ ชั่วโมง/๓ ปี (๓ นก ปัญหา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๒๐ ชั่วโมง/๓ ปี (๓ นก.) หรือ ๔๐ ชั่วโมง/ปี หรือ ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน โครงสร้างเวลาเรียนไม่สอดคล้องกับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 15
ข้อเสนอแนะ แก้ไขโครงสร้างเวลาเรียนให้เป็น ๘๐ ชั่วโมง/ปี (๒ นก ข้อเสนอแนะ แก้ไขโครงสร้างเวลาเรียนให้เป็น ๘๐ ชั่วโมง/ปี (๒ นก.) หรือ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน (๑ นก.) รายวิชาพื้นฐาน จาก ๑,๕๖๐ + ๑๒๐ = ๑,๖๘๐ รายวิชาเพิ่มเติม จาก ๑,๖๘๐ - ๑๒๐ = ๑,๕๖๐ 16
การวัดและประเมินผล ตัดสินผลการเรียนเป็นรายภาค ประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน สอดแทรกอยู่ในมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น 17
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา : ส่วนกลางให้แนวคิดและแนวปฏิบัติ สถานศึกษายืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม ใช้มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดเป็นเป้าหมาย ในการออกแบบหลักสูตร การเรียนการสอนและการประเมินผล 18
ปัญหา : เอกสารเกี่ยวกับหลักสูตร มีจำนวนจำกัด 19 ปัญหา : เอกสารเกี่ยวกับหลักสูตร มีจำนวนจำกัด 19
ปัญหา : ครูผู้สอน การกำหนดเนื้อหา การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ไม่สอดคล้องกับตัวชี้วัด 20
ข้อเสนอแนะ จัดอบรมเชิงปฏิบัติให้บุคลากร ในเรื่องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ 21
สวัสดีค่ะ สวัสดีค่ะ