คุณภาพชีวิต
วิธีสร้างคุณภาพชีวิต 1. คำนึงถึงสิ่งที่มีอิทธิพลต่อทารกในครรภ์มารดา 1.1 อารมณ์ของมารดาในระยะตั้งครรภ์มีอิทธิพล ต่อเด็กในครรภ์ 1.2 คู่สมรสเป็นบุคคลที่สำคัญที่สุด 1.3 อาหาร
1.4 บรรยากาศเป็นประจำของบ้าน 1.5 ความสะอาดการถ่ายเทอากาศอย่างดี 1.6 สิ่งที่เป็นภัยในระยะตั้งครรภ์ 1.7 การพักผ่อนอย่างเพียงพอ 1.8 การออกกำลังกาย
2.อิทธิพลของผู้เลี้ยงทารกเมื่อเกิดแล้ว การเลี้ยงดูทารกหลังคลอดแล้ว 2.1 ผู้เลี้ยงจะต้องเลี้ยงให้มีค่าเท่าพ่อและแม่เลี้ยงลูก 2.2 น้ำนมแม่ 2.3การปฏิบัติของพ่อแม่ ญาติเมื่ออยู่กับทารก
3. สิ่งแวดล้อมภายในครอบครัวและสังคมของเพื่อนและเพื่อนบ้าน 4 3.สิ่งแวดล้อมภายในครอบครัวและสังคมของเพื่อนและเพื่อนบ้าน 4. การจัดกิจกรรมหรือการให้งานเพื่อส่งเสริมการพัฒนาการทุกด้าน
คุณภาพชีวิต หมายถึง สภาพที่เอื้ออำนวยต่อความสุขสมบูรณ์ของชีวิต ความสงบเรียบร้อยของสังคม และความอยู่รอดของชีวาลัย
ลักษณะของประชากรที่มีคุณภาพชีวิตต่ำ 1. ขาดแคลนสิ่งจำเป็นในการดำรงชีพ เช่น ขาดอาหาร เสื้อผ้า เครื่องใช้ 2. สุขภาพอนามัยไม่ดี 3. ขาดความรู้ในการประกอบอาชีพ
4. เฉื่อยชาไม่กระฉับกระเฉง 5. ลักษณะสังคมลุ่มๆดอนๆ 6 4. เฉื่อยชาไม่กระฉับกระเฉง 5.ลักษณะสังคมลุ่มๆดอนๆ 6. ชีวิตและทรัพย์สินขาดความมั่นคงและปลอดภัย 7. สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม
คุณภาพชีวิตแบ่งเป็น 2 ส่วน คุณภาพส่วนรวม 1. ความจำเป็นพื้นฐาน 2. สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม
1. ความจำเป็นพื้นฐาน ได้แก่ ปัจจัยสี่ สุขภาพอนามัยที่ดี มีความมั่นคง ปลอดภัย มีสิทธิมนุษยชน
2. สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม ได้แก่ สภาวะแวดล้อมที่มีพิษน้อยที่สุด สภาพที่เป็นธรรมชาติ สภาพที่มีความสงบ สะดวก และเป็นธรรม สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาอาชีพ
คุณภาพส่วนบุคคล มีลักษณะสำคัญคือ มีจุดมุ่งหมายในชีวิต มีการตัดสินใจที่ถูกต้อง มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับตนเอง มีจริยธรรม รู้จักสร้างความสมดุล ระหว่างความต้องการกับความเป็นไปได้
ความจำเป็นพื้นฐาน Basic Needs Indicator 5. ความดี 4. มีเกียรติ 3.มีเงิน 2. มีที่อยู่ 1.มีกิน