บทที่ 13 การค้าส่งและการค้าปลีก (Wholesaling and Retailing) วัตถุประสงค์ เพื่อให้สามารถอธิบายบทบาทของการค้าส่งและการค้าปลีกในช่องทางการกระจายสินค้า เพื่อให้เข้าใจการจัดประเภทของการค้าส่งและการค้าปลีก
การค้าส่ง (Wholesaling) Producer Wholesaler Retailer Consumer กิจกรรมที่เกี่ยวกับบุคคลหรือสถาบันที่จำหน่ายสินค้าให้กับ ผู้ขายต่อ (Reseller) และ/หรือ ผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม (Industrial Buyer)
หน้าที่ของผู้ค้าส่ง การซื้อ การขาย การคลังสินค้า การขนส่งสินค้า การจัดมาตรฐานและระดับของสินค้า การเงิน การเสี่ยงภัย การจัดหาข้อมูลทางการตลาด การส่งเสริมการตลาด การให้คำแนะนำแก่ผู้ค้าปลีก
(Merchant Wholesaler) ประเภทของการค้าส่ง พ่อค้าส่ง (Merchant Wholesaler) ตัวแทนคนกลาง (Agent Middleman) ร้านสาขาของผู้ผลิต (Sales Branch)
1. พ่อค้าส่ง (Merchant Wholesaler) มีกรรมสิทธิ์ในตัวสินค้า มีการแบ่งประเภทย่อย 2 แบบ แบ่งตามสินค้าที่ขาย General Merchandise Wholesaler Single Line Wholesaler Specialty Wholesaler แบ่งตามวิธีการดำเนินงาน Full Service Wholesaler Limited Service Wholesaler
2. ตัวแทนคนกลาง (Agent Middlemen) ไม่มีกรรมสิทธิ์ในตัวสินค้า ได้รับค่าตอบแทนเป็นค่านายหน้า ค่าธรรมเนียม ฯลฯ Broker Commission Merchant Manufacturer’s Agent Selling Agent Resident Buyers Auction Company
3. ร้านค้าส่งที่เป็นสาขาของผู้ผลิต (Sales Branches) ดำเนินการโดยผู้ผลิตเอง ตั้งเป็นสาขาย่อย ๆ ในแต่ละเขตการขาย เพื่อขายและส่งสินค้าให้พ่อค้าปลีก
การค้าปลีก (Retailing) Producer Wholesaler Retailer Consumer กิจกรรมที่เกี่ยวกับการจำหน่ายสินค้าหรือให้บริการโดยตรงแก่ผู้บริโภคคนสุดท้าย เพื่อการอุปโภคบริโภคส่วนตัว ไม่ใช่เพื่อธุรกิจ
ประเภทของการค้าปลีก การค้าปลีกแบบมีร้านค้า แบ่งตามบริการที่มีให้ลูกค้า แบ่งตามสายผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่าย แบ่งตามความสำคัญต่อราคา แบ่งตามการควบคุมกิจการ แบ่งตามที่ตั้งของร้านค้า การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า
1. การค้าปลีกแบบมีร้านค้า (Store Retailing) แบ่งตามบริการที่มีให้ลูกค้า Self Service Retailer Limited Service Retailer Full Service Retailer
1. การค้าปลีกแบบมีร้านค้า (Store Retailing) แบ่งตามบริการสายผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่าย Specialty Store (Category Killer) Department Store Convenience Store Supermarket Superstore Combination Store Hypermarket Service Business
1. การค้าปลีกแบบมีร้านค้า (Store Retailing) แบ่งตามความสำคัญต่อราคา Discount Store Off-price Retailer Factory Outlet Independent Off-price Retailer Warehouse Club Catalog Showroom
1. การค้าปลีกแบบมีร้านค้า (Store Retailing) แบ่งตามการควบคุมกิจการ Independent Store Corporate Chain Store Consumer Cooperative Franchise System Merchandising Conglomerate
1. การค้าปลีกแบบมีร้านค้า (Store Retailing) แบ่งตามที่ตั้งร้านค้า Central Business District Shopping Center Regional Community Neighborhood
2. การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า (Non-Store Retailing) เน้นการเข้าถึงผู้บริโภคโดยตรงผ่านสื่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ Direct Marketing Direct Mail and Catalog Marketing Telemarketing Television Marketing Electronic Shopping Direct Selling (Door-to-door retailing) Automatic Vending
อนาคตการค้าปลีก ร้านค้าปลีกมีขนาดใหญ่ขึ้น (Super Retailer) มีการแสวงหาพันธมิตรทางการค้ามากขึ้น ห้างสรรพสินค้าใหญ่ ๆ จะมีการให้บริการค้าปลีกหลากหลายรูปแบบมากขึ้น มีการจำหน่ายสินค้า Multipack และ House Brand มากขึ้น มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการค้าปลีก เพื่อให้มีการบริหารร้านค้าอย่างมีประสิทธิภาพ
อนาคตการค้าส่ง การค้าส่งขนาดเล็กมีแนวโน้มลดลง เนื่องจาก Wholesaler อนาคตการค้าส่ง การค้าส่งขนาดเล็กมีแนวโน้มลดลง เนื่องจาก ผู้ค้าปลีกมีขนาดใหญ่ขึ้น ผู้ค้าปลีกมีระบบการค้าที่ทันสมัย และมีความร่วมมือระหว่างกัน การค้าส่งขนาดใหญ่จะอยู่ในรูปแบบตัวแทนคนกลาง หรือสาขาของผู้ผลิตเอง
บทที่ 13 การค้าส่งและการค้าปลีก (Wholesaling and Retailing) วัตถุประสงค์ เพื่อให้สามารถอธิบายบทบาทของการค้าส่งและการค้าปลีกในช่องทางการกระจายสินค้า เพื่อให้เข้าใจการจัดประเภทของการค้าส่งและการค้าปลีก