เพิ่มโอกาสเด็กตกหล่นและสร้างความเสมอภาคการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
ศูนย์พัฒนา การเรียนการสอนโรงเรียนในฝัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
จำนวนนักเรียนที่เข้าสอบ ผลการทดสอบและคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา จัดทำโดย.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
นโยบาย สพฐ. ปี
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
ผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 2555 ฎีกา 1 –64 31 มกราคม 2555
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
11.พัฒนาครูด้วยระบบ e-Training 10.พัฒนาระบบนิเทศแนวใหม่
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ การดำเนินงานขับเคลื่อนนโยบายตามกลยุทธ์ ปีงบประมาณ 2555 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตาม หลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการ.
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.1 ปีการศึกษา 2557
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
LOGO ประชุมประธาน กลุ่ม ประชุมประธาน กลุ่ม วันที่ 23 พ. ค
และผลการทดสอบทางการศึกษา
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.2 ปีการศึกษา 2557
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพิ่มโอกาสเด็กตกหล่นและสร้างความเสมอภาคการศึกษา

การขยายโอกาสทางการศึกษา 1. อัตราการเข้าเรียน ป.1 (ร้อยละ102.38) ร้อยละ 79.04 20.46 02.88 สังกัด รัฐบาล เอกชน ท้องถิ่น

2. จำนวนเด็กนอกสัญชาติ (75 คน) 32 23 16 4 ชาติ กัมพูชา จีน พม่า อื่นๆ

3. อัตราการออกกลางคันนักเรียนภาคบังคับ (จำนวน 314 คน คิดเป็นร้อยละ 0 3. อัตราการออกกลางคันนักเรียนภาคบังคับ (จำนวน 314 คน คิดเป็นร้อยละ 0.49) คน 58 26 16 12 12 ฯลฯ สาเหตุ ประกอบอาชีพ การปรับตัว ยากจน ปัญหาครอบครัว สมรส

อัตราการออกกลางคัน ปีการศึกษา 2549 มีนักเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 63,669 คน ออกกลางคันทุกสาเหตุ 314 คนคิดเป็นร้อยละ 0.49 นักเรียนที่ออกกลางคันมากที่สุด คือนักเรียนชั้น ม. 1 คิดเป็นร้อยละ 46.64 (นักเรียนที่เข้าเรียนชัน ม.1 จำนวน 79 คน และนักเรียนที่เรียนจบชั้น ป.6 ไม่เรียนต่อ ชั้น ม.1 จำนวน 66 คน) รองลงมาคือนักเรียน ม.2 ออกกลางคัน ร้อยละ 27.07 ในภาพรวมสาเหตุที่นักเรียนออกมาที่สุด คือ กรณีอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 50.64 รองลงมาคือฐานะยากจน คิดเป็นร้อยละ 18.47

พื้นที่อัตราการออกกลางคันสูงสุด 3 อันดับ 1. ตำบลคลองพน อำเภอคลองท่อม 57 คน คิดเป็นร้อยละ 18.15 2. ตำบลปลายพระยา อำเภอปลายพระยา 21 คน คิดเป็นร้อยละ 06.69 3. ตำบลคลองยาง อำเภอเกาะลันตา 16 คน คิดเป็นร้อยละ 05.10

4. อัตราการเรียนต่อ ม.ปลาย (ปีกศ. 2548) ร้อยละ 4,463 คน คิดเป็นร้อยละ 91.94 391 คน คิดเป็นร้อยละ 08.06 รายการ ศึกษาต่อ ไม่ศึกษาต่อ

5. แผนการดำเนินการแก้ปัญหาประชากรวัยเรียน เข้าเรียนภาคบังคับและส่งเสริมการเรียนต่อ ขับเคลื่อนรณรงค์การศึกษาต่อ 1.ในรูปของคณะกรรมการ ประกอบด้วย - คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา - คณะกรรมการรับนักเรียนจังหวัด - คณะกรรมการรับนักเรียนของสถานศึกษา -พนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. ภาคบังคับ 2.กิจกรรม -สร้างความเข้มแข็งของระบบดูแลนักเรียน -ส่งเสริม/สนับสนุนทุนการศึกษา -สร้างเครือข่ายการเข้าเรียนต่อในช่วงชั้นที่ 3

การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา

พัฒนารูปแบบและวิธีการคิดวิเคราะห์ โรงเรียนที่พัฒนารูปแบบการจัดการเรียน การสอนเชิงคิดวิเคราะห์จำนวน 52 โรงเรียน ดำเนินการได้ในระดับดีมาก จำนวน 49 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 94.23

การพัฒนารูปแบบและวิธีการคิดวิเคราะห์ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา * พัฒนาวิทยากรแกนนำ * พัฒนาหลักสูตร * จัดทำแผนการเรียนรู้ * ขยายผลทุกโรงเรียน * จัดทำคู่มือฝึกอบรมปฏิบัติการ * ทดลองใช้ 7 โรงเรียน * จัดทำคู่มือครู แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

การพัฒนารูปแบบและวิธีการคิดวิเคราะห์ ระดับสถานศึกษา * นำแผนการเรียนรู้สู่ห้องเรียน * สอดแทรกกระบวนการคิดทุกสาระ การเรียนรู้

ปรับปรุงกระบวนการอ่าน เขียนและคิดคำนวณ ผลการทดสอบ โดยใช้แบบทดสอบของ สพท.กระบี่ ที่มีระดับความยากง่ายเท่ากับหนังสือแบบเรียนประจำชั้นที่สอนไปแล้ว ชั้น ดี ปานกลาง ปรับปรุง รวม คน % ป.1 3287 60.14 1293 23.66 876 16.03 5466 100 ป.2 4365 81.27 518 9.64 488 9.09 5371 ป.3 4139 81.17 727 12.87 773 13.68 5650

การคิดคำนวณ ผลการทดสอบความสามารถการคิดคำนวณของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 น.ร.เข้าสอบ (คน) ดีมาก ดี ปานกลาง ปรับปรุง คน % 5751 2010 34.95 1599 27.80 1244 21.63 898 15.61

เป้าหมาย ปี 2550 นักเรียนช่วงชั้นที่ 1 ร้อยละ 100 สามารถอ่าน เขียนและคิดคำนวณได้ระดับปานกลางขึ้นไป กิจกรรมด้านการอ่าน การเขียน -ตรวจสอบสภาพการอ่าน เขียนของ น.ร.ช่วง ชั้นที่ 1 ทุกคน -จัดทำแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริม/ปรับปรุงกระบวนการอ่านและเขียนตามความสามารถ ของ น.ร.

กิจกรรมด้านการอ่าน การเขียน -จัดทำเครื่องมือและชุดฝึกให้ ร.ร.ยืมใช้ และส่งเสริมให้ ร.ร./เครือข่ายจัดทำใช้เอง -ร.ร.ตรวจสอบสภาพการอ่าน การเขียนเป็นระยะ บันทึกผลการตรวจสอบ -นิเทศ และตรวจสอบสภาพการอ่าน การเขียนด้วย เครื่องมือของ สพท. ภาคเรียนละ 1 ครั้ง -ส่งเสริมให้ ร.ร.นำมาตรการส่งเสริมนิสัยการอ่าน ของ สพท.ไปใช้อย่างจริงจังและต่อเนื่อง เช่น ให้นักเรียนสรุปบันทึกการอ่านประจำเดือน

กิจกรรมด้านการคิดคำนวณ -ร.ร.จัดทำแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา การคิดคำนวณ -จัดทำคู่มือครู แนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริม และพัฒนาการคิดคำนวณในช่วงชั้นที่ 1 -จัดค่ายกิจกรรมส่งเสริม/พัฒนา -กำหนดให้ทุกห้องเรียนฝึกการคิดคำนวณวันละ 10 นาที -สงเสริม เร่งรัดให้ ร.ร.จัดกิจกรรมอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง

การปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน ในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน

ป.6 ม.3 ภาษาไทย 47.84 45.31 คณิตศาสตร์ 41.98 33.91 วิทยาศาสตร์ 42.24 การปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน ในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ป.6 ม.3 NT ป.6 และ ม.3 ปีการศึกษา 2548 ภาษาไทย 47.84 45.31 คณิตศาสตร์ 41.98 33.91 วิทยาศาสตร์ 42.24 40.41 ภาษาอังกฤษ 37.60 29.74 สังคม - 41.65 เฉลี่ย 42.04 38.08

ช่วงชั้นที่ 1 สาระวิชา ไทย 69.26 14.07 1744 74.00 คณิตฯ 2.26 279 75.00 จำนวน น.ร.ผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าเกณฑ์ลดลง 70% คน) %น.ร.ผลสัมฤทธิ์ ต่ำกว่าเกณฑ์ ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ย ที่คาดหวัง สาระวิชา ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ย ไทย 69.26 14.07 1744 74.00 คณิตฯ 2.26 279 75.00 71.78 187 76.00 วิทย์ฯ 1.51 72.12 อังกฤษ 70.33 2.07 257 75.00

ช่วงชั้นที่ 2 สาระวิชา ไทย 69.57 16.41 2167 75.00 คณิตฯ 1.30 172 73.00 จำนวน น.ร.ผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าเกณฑ์ลดลง 70% คน) %น.ร.ผลสัมฤทธิ์ ต่ำกว่าเกณฑ์ ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ย ที่คาดหวัง สาระวิชา ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ย ไทย 69.57 16.41 2167 75.00 คณิตฯ 1.30 172 73.00 67.82 72 73.00 วิทย์ฯ 0.55 68.70 อังกฤษ 66.61 1.08 141 70.00

ช่วงชั้นที่ 3 สาระวิชา ไทย 65.39 21.21 2333 70.00 คณิตฯ 8.76 959 60.00 จำนวน น.ร.ผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าเกณฑ์ลดลง 70% คน) %น.ร.ผลสัมฤทธิ์ ต่ำกว่าเกณฑ์ ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ย ที่คาดหวัง สาระวิชา ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ย ไทย 65.39 21.21 2333 70.00 คณิตฯ 8.76 959 60.00 53.73 862 68.00 วิทย์ฯ 7.87 63.81 อังกฤษ 63.13 11.18 1203 68.00

ช่วงชั้นที่ 4 สาระวิชา ไทย 68.47 14.39 572 73.00 คณิตฯ 8.75 347 70.00 จำนวน น.ร.ผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าเกณฑ์ลดลง 70% คน) %น.ร.ผลสัมฤทธิ์ ต่ำกว่าเกณฑ์ ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ย ที่คาดหวัง สาระวิชา ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ย ไทย 68.47 14.39 572 73.00 คณิตฯ 8.75 347 70.00 64.15 196 70.00 วิทย์ฯ 5.63 66.92 อังกฤษ 64.56 7.25 289 70.00

แนวทางการปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน 1.กำหนดให้ครูจัดทำแผนจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้อง กับหลักสูตรและตอบสนองความแตกต่างระหว่าง บุคคล 2.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กำหนดให้ผู้เรียน มีส่วนร่วม ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ (เลือกเรียนตามความถนัด ความสนใจ ร่วมกัน กำหนดเป้าหมาย วางแผนการเรียน ค้นหา ความรู้ แสวงหาทางเลือกใหม่)

3. มียุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ -วางแผนจัดการเรียนเรียนรู้ -กำหนดรูปแบบ/วิธีการเรียนรู้ -วิธีการประเมินที่เหมาะสม -ใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม -จัดทำแนวบันทึกผลสัมฤทธิ์เป็นรายบุคคล -จัดทำวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

4.มีการสอนซ่อมเสริม -วิเคราะห์ผลการเรียน -ศึกษาแนวทาง เทคนิคพัฒนา -จัดกลุ่มผู้เรียนตามความถนัด -เลือกใช้การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม -มีหลักฐานและผลการซ่อมเสริม

5. กำหนดให้ผู้เรียน ผู้สอน ผู้ปกครองมีส่วนร่วมใน กระบวนการประเมิน (ร่วมกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้) 6. เน้นให้มีการประเมินผลตามสภาพจริง 7. นำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนา การจัดการเรียนรู้ 8. รายงานผลให้ทุกฝ่ายรวมทั้งผู้ปกครองทราบ อย่างต่อเนื่อง และใช้ข้อมูลการประเมินเป็นตัวกระตุ้น ให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองเต็มศักยภาพ 9.จัดทำกรณีศึกษากลุ่มที่มีผลการเรียนต่ำอย่างต่อเนื่อง แต่ละกลุ่มสาระ

ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา ได้มาตรฐาน สมศ. ไม่ได้มาตรฐาน สมศ. ขนาดเล็ก (78 โรง) 17 โรง(ร้อยละ21.29) 61 โรง(ร้อยละ78.21) ขนาดกลาง (115โรง) 41 โรง (ร้อยละ35.65) 74 โรง(ร้อยละ64.35) ขนาดใหญ่ (16โรง) 12 โรง (ร้อยละ75.00) 4 โรง(ร้อยละ 25.00) ขนาดใหญ่พิเศษ (4โรง) 4 โรง (ร้อยละ100) - ร.ร.ในฝัน (8โรง) 6 โรง (ร้อยละ75.00) 2 โรง(ร้อยละ25.00)

ผลการประเมินจำแนกรายมาตรฐาน มฐ.ผู้เรียน(ปฐมวัย) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระดับคุณภาพดี พอใช้ ปรับปรุง ดี พอใช้ ปรับปรุง มฐ.1 60.38 39.62 มฐ4 41.51 56.60 1.89 มฐ.5 26.42 66.04 9.43 มฐ.6 35.85 62.26 มฐ.9 58.49 มฐ.10 83.02 16.98 มฐ.12 73.58

ผลการประเมินจำแนกรายมาตรฐาน มฐ.ผู้เรียน(กศ.พฐ.) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระดับคุณภาพดี พอใช้ ปรับปรุง ดี พอใช้ ปรับปรุง มฐ.1 84.58 14.95 0.47 มฐ4 11.21 78.04 10.75 มฐ.5 4.67 66.36 28.97 มฐ.6 29.91 64.02 6.07 มฐ.9 68.22 29.44 2.34 มฐ.10 97.20 2.80 มฐ.12 73.83 25.70

ผลการประเมินจำแนกรายมาตรฐาน มฐ.ครู ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระดับคุณภาพดี/พอใช้/ปรับปรุง ดี พอใช้ ปรับปรุง มฐ.22 44.39 52.34 3.27 มฐ.24 63.08 32.24 4.67

ผลการประเมินจำแนกรายมาตรฐาน มฐ.ผู้บริหาร ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระดับคุณภาพดี พอใช้ ปรับปรุง ดี พอใช้ ปรับปรุง มฐ.13 57.01 39.25 3.27 มฐ.14 63.55 34.11 2.34 มฐ.19 43.93 54.67 1.47 มฐ.20 76.64 22.90 0.47 มฐ.25 56.07 9.81

การนำเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถานศึกษา

1. พัฒนาหลักสูตร -บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. จัดกิจกรรมปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม -โรงเรียนวิถีพุทธ -ยุวทูตความดี -การพัฒนาจิตพิสัย 3. กิจกรรมเสริมสร้างลักษณะนิสัย -เกษตรทฤษฎีใหม่ -การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

การพัฒนาหลักสูตร ขั้นตอนกิจกรรม -รับนโยบาย -วิเคราะห์หลักสูตร -จัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการกับ กลุ่มสาระ -ดำเนินการในโรงเรียนต้นแบบ -ติดตามประเมินผล

สุขศึกษาและพลศึกษา -อาหารประจำถิ่น การพัฒนาหลักสูตร คณิตศาสตร์ -บัญชีรายรับรายจ่าย -วิเคราะห์บัญชีฯ -บันทึกรายรับรายจ่าย -กระบวนการทางคณิตฯ สุขศึกษาและพลศึกษา -อาหารประจำถิ่น -ความปลอดภัยในชีวิต ศิลปะ -ทัศนศิลป์ -ดนตรีไทย เศรษฐกิจพอเพียง ภาษาไทย -การ อนุรักษ์ การใช้ ภาษาถิ่น วิทยาศาสตร์ -สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศน์ สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม -การบริโภค/การผลิต ศาสนา การจัดการทรัพยากร และการบริโภค -วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ หน้าที่พลเมือง -เศรษฐศาสตร์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ -ทัศนศิลป์ -ดนตรีไทย ภาษาต่างประเทศ -ภาษาเพื่อการสื่อสาร

การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม 1.โรงเรียนวิถีพุทธ -ประชาสัมพันธ์ -ปฐมนิเทศโรงเรียน -คัดเลือกโรงเรียนต้นแบบ โรงเรียนแกนนำ 2.การพัฒนาจิตพิสัย -พัฒนาชุดฝึก -ทำความเข้าใจกับผู้บริหารโรงเรียน -พัฒนาครู -แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ยุวทูตความดี -คัดเลือกโรงเรียนแกนนำ -ประชุมชี้แจง สร้างความเข้าใจ -ประชุมสัมมนา -สรุป/รายงาน ผล -นักเรียนมีจิตสำนึกที่ดี -ผู้ปกครองให้ความร่วมมือ

กิจกรรมเสริมสร้างลักษณะนิสัย เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ -สร้างความเข้าใจ หลักการ แนวคิด ทฤษฎี -จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการ ปฏิบัติจริง -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผล -โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการดำเนินการได้ ดีเป็นแบบอย่างได้

พัฒนาครูสู่การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงควบคู่กับการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

การจัดกลุ่มความพร้อมของสถานศึกษา สถานศึกษาที่พร้อมสู่ SBM. ค่าเฉลี่ย O-NET เฉลี่ย 200 คะแนน (มัธยม) จำนวน 1 โรงเรียน โรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล

สถานศึกษาที่พร้อมสู่ SBM. นักเรียนตั้งแต่ 700 คน ขึ้นไป (มัธยม) 500 คนขึ้นไป (ประถม) มัธยม 11 โรงเรียน ประถม 14 โรงเรียน 1.สินปุนคุณวิชญ์ 2.ราชประชานุเคราะห์ 37 3.คลองพนสฤษดิ์พิทยา 4.ปลายพระยาวิทยาคม 5.กาญจนาภิเษกวิทยาลัย กระบี่ 6.พนมเบญจา 7.เหนือคลองประชาบำรุง 1.บ้านคลองแห้ง 2.อนุบาลกระบี่ 3.อุตรกิจ 4.อนุบาลคลองท่อม 5.คลองพน 6.บ้านคลองไคร 7.บ้านพรุดินนา

สถานศึกษาที่พร้อมสู่ SBM. มัธยม 11 โรงเรียน ประถม 17 โรงเรียน 8.คลองท่อมราษฎร์รังสรรค์ 9.เมืองกระบี่ 10.อ่าวลึกประชาสรรค์ 11.อำมาตย์พานิชนุกูล 8.อ่าวลึก 9.ชุมชนอ่าวลึกเหนือ 10.บ้านบางเจริญ 11.บ้านกลางมิตรภาพที่ 44 12.บ้านห้วยเสียด 13.บ้านถ้ำโกบ 14.บ้านบางเหียน 15.บ้านลำทับ 16.ราชประชานุเคราะห์ 1 17.ราชประชานุเคราะห์ 2

มัธยม 11 โรงเรียน ประถม 17 โรงเรียน สถานศึกษาที่พร้อมสู่ SBM. มัธยม 11 โรงเรียน ประถม 17 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 64.71 ของโรงเรียนมัธยมศึกษา (สามัญเดิม) ทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 7.48 ของโรงเรียนประถมศึกษา (สปช.เดิม) ทั้งหมด

การประยุกต์ใช้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาบริหาร จัดการศึกษา ในรูปแบบการบริหารจัดการ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

สภาพแวดล้อม -ภูมิประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ (ดิน น้ำ ป่าไม้) และทรัพยากรการท่องเที่ยว มีความสมบูรณ์ สวยงาม -เป็นแหล่งอาหารสำคัญของฝั่งอันดามัน -เป็นแหล่งเกษตรอุตสาหกรรม (ปาล์มน้ำมัน ยางพารา) -ไม่มีปัญหาความขัดแย้งทางสังคม

สภาพแวดล้อม -ประชากรส่วนใหญ่มีค่านิยมที่เอื้อต่อการ ส่งเสริมความเป็นอยู่แบบพอเพียง (รักสงบเยือกเย็น ทันสมัย มีอัธยาศัย ผูกมิตรไมตรี) -โครงสร้างของสังคมไม่ซับซ้อน -มีแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย

ปัจจัยนำเข้า -ผู้บริหาร ครู ต้องมีความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง และตระหนักถึงความสำคัญ และปฏิบัติตนตาม แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง -นักเรียนมีค่านิยมที่เอื้อต่อการใช้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง -การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ (หลักธรรมมาภิบาล) -มีงบประมาณเพียงพอเหมาะสมกับภารกิจ -ทิศทางนโยบายการพัฒนาที่ชัดเจน มั่นคง เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน

เป้าหมาย -ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตพื้นที่การศึกษากระบี่ มีความรู้ ความเข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง อย่างชัดเจน -สพท. สถานศึกษาใช้ระบบธรรมาภิบาล ในการบริหารจัดการอย่างได้ผล -มีนวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง ที่มีคุณภาพ

เป้าหมาย -สถานศึกษาขั้นพื้นฐานบูรณาการปรัชญา เศรษฐกิจแบบพอเพียงไว้ในหลักสูตร ทุกกลุ่มสาระวิชา ทุกช่วงชั้น -ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และ นักเรียนตระหนักในความสำคัญและปฏิบัติ ตนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง

เป้าหมาย -ผลการประเมินภายนอกรอบสองตามมาตรฐาน การศึกษาด้านผู้บริหารอยู่ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 95 -ผลการประเมินภายนอกรอบสองตามมาตรฐาน การศึกษาด้านครูอยู่ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 90 -ผลการประเมินภายนอกรอบสองตามมาตรฐาน การศึกษาด้านผู้เรียนในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 95

กิจกรรม 1-3 ปี -พัฒนาผู้บริหาร ครู เป็นมืออาชีพ -ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับท้องถิ่น -สอดแทรกคุณธรรมนำความรู้ตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงในกิจกรรมการเรียนรู้ ทุกกลุ่มสาระ -ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นแหล่งเรียนรู้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด

กิจกรรม 1-3 ปี -เพิ่มสมรรถนะของคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน -เพิ่มสมรรถนะของคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน -แสวงหาความร่วมมือจากชุมชนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา อย่างจริงจัง -ลดความสูญเปล่าทางการศึกษา

ผลลัพธ์ -สถานศึกษาสามารถบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจ แบบพอเพียงมาใช้ การจัดการเรียนรู้โดย กระบวนการบริหารแบบใช้โรงเรียนเป็นฐาน อย่างได้ผล -ผู้บริหาร ครู นักเรียน เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีคุณลักษณะตามปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข