งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม

2 วิวัฒนาการ โครงการ อย.น้อย
เริ่มทำจังหวัดละ 5 โรงเรียน เริ่ม ปี 2546 สสส. สนับสนุนการทำเครือข่าย อย.น้อย ปี 2549 สนับสนุนการทำโครงงานแก้ไขปัญหาสุขภาพ ปี 2552

3 อย.น้อยได้อะไร จากการทำกิจกรรม
ได้เรียนรู้การทำงานร่วมกัน ได้เรียนรู้การบริหารงาน การวางแผนทำงาน ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ได้บำเพ็ญประโยชน์ สร้างความภาคภูมิใจ ได้เรียนรู้การบริโภคอย่างปลอดภัย ได้รู้จักเพื่อนต่างสถาบัน เกิดเครือข่าย

4 โครงสร้างการดำเนินงาน อย.น้อย
มีสมาชิกแกนนำ อย่างน้อย 1 คน ต่อ 1 ห้องเรียน มีสมาชิกหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 25% ของนักเรียนทั้งหมด มีการจัดทำแผนงาน มีการประชุมกรรมการเป็นประจำ

5 กิจกรรมในโรงเรียน การเผยแพร่ความรู้ในโรงเรียน
การตรวจสอบอาหารโดยใช้ชุดทดสอบ การตรวจสอบภาชนะบรรจุ ฉลาก การเก็บรักษา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ การส่งเสริมสุขลักษณะของสถานที่ และพฤติกรรมด้านสุขภาพของนักเรียน การรณรงค์ด้านการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างเหมาะสม

6 การเชื่อมโยงกิจกรรม สู่การเรียนการสอน
การเชื่อมโยงกิจกรรม สู่การเรียนการสอน การนำกิจกรรมไปเชื่อมโยงกับวิชาที่เรียน การบูรณาการเข้าสู่การสอน

7 การบริโภคและกิจกรรมในบ้านเรือน
การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การเลือกซื้อ การแนะนำความรู้ให้บุคคลในบ้าน การแยกแยะข้อมูลโฆษณา เป็นต้น การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในบ้านเรือนตนเอง

8 กิจกรรมที่ขยายผลสู่ชุมชน
การตรวจสอบอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ รอบโรงเรียน การตรวจสอบอาหารในตลาด การเผยแพร่ความรู้ในชุมชน เช่น ใช้หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน ป้ายนิเทศ การรณรงค์

9 การสร้างเครือข่าย อย.น้อย
การทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างโรงเรียนในเครือข่าย กิจกรรม อย.น้อย สอนน้อง

10 การประเมินผล 2549 เกิดความสอดคล้อง เกิดการเปลี่ยนแปลงนักเรียน
เกิดกระบวนความร่วมมือ เกิดการเปลี่ยนแปลงผู้ค้า/ร้านค้า 2549 เกิดการขยายผล อ.สุนทรี และคณะ

11 การประเมินผล นักเรียนมีทัศนคติด้านเผยแพร่ ปชส. มากที่สุดรองลงมาคือ การตรวจสอบและเฝ้าระวัง นักเรียนมีความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2550 นักเรียนเรียนรู้จากครู สื่อ และการลงมือปฏิบัติ อ.อนุชัย และคณะ

12 การประเมินผล 2551 ประเมิน พฤติกรรมการบริโภค การบูรณาการ สิ่งแวดล้อม
คู่มือบูรณาการ ฐานการพัฒนา 55.49 % มีพฤติกรรมเหมาะสม 100 % มีการบูรณาการ 100 % บริโภคปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม 90 % ครูใช้คู่มือบูรณาการ 2551 ฐานการพัฒนามี 4 องค์ประกอบหลัก อ.ศิริเดช และคณะ

13 ขับเคลื่อนด้วย 4 ยุทธศาสตร์
แนวทางการใช้โรงเรียน อย.น้อย เป็นฐานการพัฒนาและ ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี ขับเคลื่อนด้วย 4 ยุทธศาสตร์ องค์ประกอบที่ 2 กำหนดวิสัยทัศน์ และมีการ บูรณาการความร่วมมือ องค์ประกอบที่ 1 ส่งเสริมและพัฒนา นโยบายโรงเรียน เครือข่าย รวมพลัง บูรณาการการสอน

14 ใช้กระบวนการคุณภาพ PDCA กำกับ ติดตาม และประเมินผล
แนวทางการใช้โรงเรียน อย.น้อย เป็นฐานการพัฒนาและ ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี ใช้กระบวนการคุณภาพ PDCA องค์ประกอบที่ 3 กำกับ ติดตาม และประเมินผล องค์ประกอบที่ 4

15 แนวทางดำเนินโครงการ อย.น้อย ปี 2553

16 ปี 2553 เน้นสร้างเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน อย.น้อย
ไม่มีการประกวดจากส่วนกลาง จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปี 2553 คู่มือการเรียนการสอน ส่งเสริมเครือข่ายครูแกนนำ สนับสนุนสื่อและงบประมาณ

17 การดำเนินการของจังหวัด
อิสระ บรรลุเป้าหมาย ไม่จำกัดรูปแบบ การดำเนินการของจังหวัด

18 โครงการ อย.น้อย สสส. พัฒนาทักษะชีวิต ร่วมคิดแก้ปัญหาสุขภาพ
โครงการ อย.น้อย สสส. พัฒนาทักษะชีวิต ร่วมคิดแก้ปัญหาสุขภาพ งบ 7 ล้านบาท เป็นโครงการนำร่อง ทดลองใน โรงเรียน ภาคละ 2 โรงเรียน และ กทม. 3 โรงเรียน เน้นการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา

19 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552
ข้อ 70 เด็ก เยาวชน ต้องได้รับความคุ้มครองเป็นพิเศษตามสิทธิที่กฎหมายบัญญัติ และต้องได้รับโอกาสในการพัฒนาทักษะชีวิต รู้เท่าทันสื่อ มีส่วนร่วมในการคุ้มครองผู้บริโภค ทั้งนี้การสื่อสารข้อมูล ต้องมีความเหมาะสมตามวัยและสภาพของบุคคล เข้าถึงได้ง่าย เข้าใจง่าย และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

20 ทักษะชีวิต การวิเคราะห์วิจารณ์ ความคิดสร้างสรรค์ ความตระหนักรู้ในตน
ความเห็นใจผู้อื่น ความภาคภูมิใจในตนเอง ความรับผิดชอบต่อสังคม การสร้างสัมพันธภาพ การสื่อสาร การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การจัดการกับอารมณ์ ความเครียด

21 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google