นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

การจัดสรรตำแหน่งและการคัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้ารับราชการ
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
Health Promotion & Prevention
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ประสานงานสาธารณสุขระดับจังหวัดสงขลา
แนวทางดำเนินการการกระจายอัตรากำลัง
หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้บริการสาธารณสุข
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
ความหมายและกระบวนการ
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
รายงานความคืบหน้า การพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา การจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานของ บุคลากร กลุ่มประกันสุขภาพ.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
จากสำนักงานนโยบายและแผน
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ส่งเสริมสัญจร.
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การบริหารและพัฒนากำลังคน
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การบริหารจัดการ และการควบคุมการใช้ตำแหน่ง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพมหานคร วันพุธที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ 

๑. การขับเคลื่อนนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล เรื่องที่ ๑ : ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เรื่องที่ ๒ : ด้านการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ เรื่องที่ ๓ : โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลด ภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ เรื่องที่ ๔ : ประชาชนในเขตจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการ บริการสุขภาพตามปัญหาพื้นที่

๒. การดำเนินงานขับเคลื่อนนโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 16 ข้อ พัฒนาโครงการ กิจกรรม และตัวชี้วัด ที่สำคัญในแต่ละ นโยบาย จำนวน ๑๘ โครงการ ๒๖ ตัวชี้วัด กำหนดให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงทุกเขต ผู้บริหารส่วน ภูมิภาค รับทราบและนำโครงการดังกล่าวสู่การปฏิบัติ โดยมีการลงนาม คำรับรองการปฏิบัติราชการกระทรวง สาธารณสุข (MOU)

๓. การสร้างเสริมสุขภาพ โดยเน้นอาหารเมนูสุขภาพในโรงพยาบาลให้มีมาตรฐานเดียวกัน อาหารปลอดภัย อาหารเฉพาะโรค และอาหารเพื่อสุขภาพ ในโรงครัว อาหารเพื่อสุขภาพในโรงอาหารของโรงพยาบาล Healthy meeting การสื่อสาร / การให้สุขศึกษาแก่ญาติและผู้ป่วย

๔. การจัดช่องทางรับบริการด่วนพิเศษ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และเด็ก (Green Channel) ห้องน้ำ/ทางลาด/ที่จอดรถ ช่องทางด่วนพิเศษ (>๗๐ ปี) ผู้พิการ+รถเข็น คลินิกสูงอายุ ชมรมสูงอายุ DPAC แนะนำโภชนาการ ศูนย์พึ่งได้/คลินิกวัยรุ่น

๕. การจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ทิศทางการพัฒนาระบบบริการในแผน ๕ ปี ให้ความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ ๓ ประเด็น ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแน่น - จัดตั้ง “ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง” - พัฒนาศักยภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่ ๒. การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง ๔ สาขา ดังนี้ ทารกแรกเกิด มะเร็ง อุบัติเหตุ หัวใจ เป้าหมาย ๕ ปี ครอบคลุมประชากรชุมชนเมืองทั่วทั้งประเทศ ร้อยละ ๑๐๐ ๓. การพัฒนาโรงพยาบาลระดับต่างๆ ให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบเครือข่ายบริการ การบริหารจัดการเครือข่ายบริการในส่วนภูมิภาค ดำเนินการในรูปแบบของเครือข่ายบริการ ๑๒ เครือข่าย โดยมีคณะกรรมการบริหารเครือข่าย บริการ

๖. การจัดทำแผนบุคลากรและอัตรากำลัง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการแก้ปัญหาด้าน บริหารงานบุคคลและ การบริหารกำลังคนของกระทรวงสาธารณสุข ใน 3 แนวทางดังนี้ ๑. การกำหนดตำแหน่งเพิ่มใหม่ ๒. การยกร่างระเบียบพนักงานกระทรวงสาธารณสุขเพื่อแก้ปัญหา ลูกจ้างชั่วคราวของกระทรวงสาธารณสุข ๓. การแก้ปัญหาทางด้านบริหารงานบุคคลอย่างเป็นระบบ

แนวทางการแก้ปัญหาระยะสั้น ๑. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอ ก.พ. ยกเว้นในการดำเนินการในกรณีต่าง ๆ ดังนี้ ๑.๑ การเลื่อนระดับตำแหน่งสูงขึ้นโดยไม่ต้องใช้ตำแหน่งว่างมายุบรวม ๑.๒ การขอไม่ลดขั้นเงินเดือนสำหรับผู้เปลี่ยนสายงานจากประเภททั่วไปเป็น ประเภทวิชาการ ๒. การขอกำหนดตำแหน่งเพิ่มใหม่เพื่อบรรจุนักเรียนทุนรัฐบาล ๓ สายงาน (แพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร) ๓. สำหรับการขอกำหนดตำแหน่งเพิ่มใหม่เพื่อบรรจุแต่งตั้งลูกจ้างเงินบำรุง แนวทางการแก้ปัญหาระยะยาว ๑. ให้ศึกษารูปแบบกำลังคนด้านสุขภาพว่า ควรจะเป็นรูปแบบใด ๒. จัดทำกรอบความต้องการกำลังคนด้านสาธารณสุขระยะเวลา ๕ ปี

๗. การจัดซื้อจัดจ้าง การเบิกจ่ายงบประมาณ (กรณีฉุกเฉิน อุทกภัย) ๗. การจัดซื้อจัดจ้าง การเบิกจ่ายงบประมาณ (กรณีฉุกเฉิน อุทกภัย) ๑. การจัดซื้อจัดจ้างให้ปฏิบัติตามหนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการ พัสดุกรมบัญชีกลาง ๒. ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติงาน ให้ ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ ๓. ค่าใช้จ่ายในการบริหารของส่วนราชการ ให้ปฏิบัติตามระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ของส่วนราชการ พ.ศ. 2553

๘. การพัฒนาการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน (Pay for Performance : P4P) แนวทางการดำเนินการ ๑. การกำหนดค่าประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ำ ๒. การคิดค่าคะแนนผลการปฏิบัติงาน ๓. ต้องมีการจัดกระบวนการภายใน ๔. การจัดทำหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนตามผลการ ปฏิบัติงาน โดยใช้เงินบำรุงของหน่วยบริการสังกัดกระทรวง สาธารณสุข

๙. การลดความเหลื่อมล้ำระหว่าง ๓ กองทุน ๑. การทบทวนสิทธิประโยชน์ของแต่ละกองทุน และร่วมกำหนดชุด สิทธิประโยชน์หลักของคนไทย - สิทธิหลักด้านบริการสาธารณสุขและการรักษาพยาบาล - การร่วมจ่ายค่าบริการของประชาชน ๒. การทบทวนและร่วมกำหนดแนวทางการพัฒนาระบบบริการ เจ็บป่วยฉุกเฉิน ๓. ความพยายามในการเพิ่มการเข้าถึงยาที่จำเป็นของคนไทย