งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ภาพรวมผลการติดตาม ประเมินกระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2552 ประเด็น การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

2 กรอบการประเมิน มีการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ กลุ่มเป้าหมายชัดเจน เจาะจง
การวางแผนพัฒนาสุขภาพพื้นที่ การวิเคราะห์สภาพปัญหา กระบวนการจัดทำแผน การบริหารงบประมาณ การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ มีการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ กลุ่มเป้าหมายชัดเจน เจาะจง มาตรการ/กิจกรรม เหมาะสม ปฏิบัติได้ คุณภาพของแผน

3 กรอบการวิเคราะห์ ปัจจัยเสี่ยง กลุ่มเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง
FORMAT : กระบวนการ โดยประยุกต์ TOOLS PMQA, SWOT : PEST แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ CONTENT : สาระของปัญหา ข้อมูลเชิงประจักษ์ Evidence Based ปัจจัยเสี่ยง กลุ่มเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง มาตรการทางวิชาการ (จังหวัด/อำเภอ) / สังคม (อำเภอ/ตำบล) ความรู้ความเข้าใจของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง (บริหาร / ปฏิบัติ)

4 กระบวนการ (Format) มีกระบวนการสร้างความเข้าใจ มีการถ่ายทอดแผน
มีการมอบหมาย ชี้แจงผู้บริหารระดับอำเภอ และผู้ปฏิบัติ มีกระบวนการติดตามผลการปฏิบัติงาน ประสานกับเครือข่ายในพื้นที่ อปท. สนับสนุน ………………. …………….

5 ภาพรวมข้อค้นพบ รูปแบบ จำนวน เขตควจราชการ 1 F & C & G (4.5) 2 F & G (3)
9 5 - 18

6 ประเด็นข้อค้นพบ : รูปแบบที่ 1 : F & C & G (4)
Key word ดูความเชื่อมโยงของกระบวนการ สาระของการทำงาน สิ่งที่ยังขาด เพื่อปรับปรุง (งาน เงิน คน) ระดับจังหวัด อำภอ และตำบล ให้ความสำคัญกับการกำหนดมาตรการตามปัญหา ความร่วมมือของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง “การกำหนดมาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหา ผู้รับผิดชอบระดับจังหวัดเป็นพี่เลี้ยงแนะนำ การจัดทำแผนงานโครงการและตรวจสอบ ความถูกต้องก่อนเสนอคณะกรรมการอนุมัติ แผน กระบวนการติดตาม ประเมินผลระดับจังหวัด “ บอกว่าไม่พบการประเมินยุทธศาสตร์ที่บอกถึงความคุ้มค่า = ผลการดำเนินงานตามมาตรการ (ความคุ้มค่าของงบประมาณ) “ ไม่พบการประเมินแผนยุทธศาสตร์เพื่อบอกความคุ้มค่าของงบประมาณ” “ติดตามจาก ระบบการนิเทศผสมผสาน ติดตามตามตัวชี้วัด (กระทรวง หรือ ประสิทธิผลของ มาตรการ ??) ระบบรายงาน ระบบประชุมคณะกรรมการวางแผนประเมินผลจังหวัด ” “ขาดข้อมูลที่สำคัญในการวางแผน กำหนดทิศทางการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์/ยุทธวิธี ทุกระดับยังไม่สอดรับกัน พื้นที่ยังไม่ทราบมาตรการที่สำคัญ (Core Intervention) “ “ปัญหาการบริหารงานไม่สอดคล้องกับสภาพปัญหา บุคลากรไม่เข้าใจการบูรณาการเชิงรุก และการกำกับประเมินอย่างแท้จริง” “ยังไม่เกิดการบูรณาการงานและงบประมาณในระดับพื้นที่โดยใช้ Evidence Based ”

7 ประเด็นข้อค้นพบ : รูปแบบที่ 2 : F & G (3)
Key word มีการประชุมหน่วยงานย่อยที่เป็นพื้นที่นำร่อง ร่วมวางแผนแก้ปัญหา ใช้ปัญหาเป็นตัวตั้ง ขาดข้อมูลที่สำคัญในการวางแผนกำหนดทิศทางการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์/ยุทธวิธี ทุกระดับยังไม่สอดรับกัน พื้นที่ยังไม่ทราบมาตรการที่สำคัญ(Core Intervention) โครงการยังไม่มีการบูรณาการกลุ่มเป้าหมายและงบประมาณ การกำหนดเกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มเสี่ยงยังไม่ชัดเจน ไม่ให้ความสำคัญกับการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง การดำเนินตามมาตรการหลัก : ส่วนใหญ่ครบทุกมาตรการยกเว้นมาตรการลดเสี่ยงในชุมชน ช่องว่างการบูรณาการแผนส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังระดับจังหวัด/ อำเภอ กับระดับตำบล การวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่ขึ้นอยู่กับศักยภาพของ จนท.สอ. เสนอกิจกรรมเป็นโครงการ ทำให้การดำเนินการไม่ต่อเนื่อง ไม่สามารถทำให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ โครงการไม่ครอบคลุมปัญหาสำคัญของพื้นที่ ขาดโครงการ/ นวัตกรรม ที่ทำให้เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างยั่งยืน (กำหนดเป็นนโยบายสาธารณะ)

8 ประเด็นข้อค้นพบ : รูปแบบที่ 3 : F & C (2)
Key word ส่วนใหญ่ยังขาดการวิเคราะห์ด้านพฤติกรรมที่เป็นปัจจัยเสี่ยง การวิเคราะห์ปัญหาในภาพรวมจังหวัด ยังมีเพียงสรุปผลการประเมินตาม Cohort แนวทางแก้ปัญหาในบางอำเภอไม่สอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ การติดตามประเมินผลการดำเนินงานในระดับอำเภอและตำบลยังไม่เห็นชัดเจน ความร่วมมือต่างหน่วยงานและท้องถิ่นในระดับอำเภอและตำบล ยังไม่เห็นชัดเจน

9 ประเด็นข้อค้นพบ : รูปแบบที่ 4 : F (1)
Key word มีกระบวนการสร้างความเข้าใจ มีการถ่ายทอดแผน มีการมอบหมาย ชี้แจงผู้บริหารระดับอำเภอ และผู้ปฏิบัติ มีกระบวนการติดตามผลการปฏิบัติงาน ประสานกับเครือข่ายในพื้นที่ อปท. สนับสนุน ………………. …………….

10 ประเด็นข้อค้นพบ : รูปแบบที่ 5 : -
ประเด็นข้อค้นพบ : รูปแบบที่ 5 : - Key word ไม่พบข้อมูล ซึ่งอาจมีการดำเนินการในจังหวัด / อำเภอ / ตำบล แต่ผู้ประเมินไม่ได้ ประมวลผลไว้ หรือ ผู้ประเมินไม่ได้ประมวลผลไว้ แต่ผู้วิเคราะห์ไม่พบ ขออภัยเป็นอย่างสูง

11 ขอบพระคุณค่ะ

12 ตัวอย่าง

13 การนำแผนสู่การปฏิบัติ
 มีการประชุมหน่วยงานย่อยที่เป็นพื้นที่ นำร่อง ร่วมวางแผนแก้ปัญหา  ขาดข้อมูลที่สำคัญในการวางแผน กำหนดทิศทางการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์/ยุทธวิธี ทุกระดับยังไม่ สอดรับกัน พื้นที่ยังไม่ทราบมาตรการที่ สำคัญ(Core Intervention)

14 แนวทางและมาตรการการแก้ไขปัญหา
ส่วนใหญ่ยังไม่มีการบูรณาการในกลุ่มเป้าหมายและงบประมาณ โครงการในระดับ CUP เริ่มเห็นการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานสาธารณสุขกับหน่วยงานในส่วนท้องถิ่น (เทศบาล/อบต.) ใช้ปัญหาเป็นตัวตั้ง การกำหนดเกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มเสี่ยงยังไม่ชัดเจน ไม่ให้ความสำคัญกับการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง การดำเนินตามมาตรการหลัก : ส่วนใหญ่ครบทุกมาตรการยกเว้นมาตรการลดเสี่ยงในชุมชน

15 ข้อมูลผลการประเมินผู้ปฏิบัติงานไข้เลือดออก
ข้อมูลที่ยังไม่มีการวิเคราะห์ชัดเจน ข้อมูลด้านพฤติกรรม / ปัจจัยเสี่ยง/กลุ่ม ประชากร/ความพร้อมของเครือข่าย ข้อมูลผลการประเมินผู้ปฏิบัติงานไข้เลือดออก ประเด็น ร้อยละ ทราบสถานการณ์และปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 96 2. ทราบแนวทางในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 100 3. ได้รับการชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับแผนฯไข้เลือดออก 4. ความมั่นใจในการปฏิบัติงาน และสามารถแก้ไขปัญหาได้ตามแผน 80

16 ปัญหา - ช่องว่างการบูรณาการแผนส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังระดับจังหวัด/ อำเภอ กับระดับตำบล - การวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่ขึ้นอยู่กับศักยภาพของ จนท.สอ. - เสนอกิจกรรมเป็นโครงการ ทำให้การดำเนินการไม่ต่อเนื่อง ไม่สามารถทำให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ - โครงการไม่ครอบคลุมปัญหาสำคัญของพื้นที่ - ขาดโครงการ/ นวัตกรรม ที่ทำให้เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างยั่งยืน (กำหนดเป็นนโยบายสาธารณะ) - คณะกรรมการไม่สามารถบูรณาการโครงการที่คล้ายกัน หรือวัตถุประสงค์เหมือนกัน ทำให้มีโครงการหลายหลาย งบประมาณจึงไม่เพียงพอ - ไม่มีระบบการติดตาม กำกับการดำเนินงาน (ปี 51 ใช้เงินกองทุน ฯ ~ 16 %)

17 กรมควบคุมโรคห่วงใย อยากเห็นคนไทยสุขภาพดี


ดาวน์โหลด ppt พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google