งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค

2 โครงการที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
โครงการ อย.น้อย โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค

3 “ขยายเครือข่าย กระจายความรู้ มุ่งสู่การเฝ้าระวัง”
โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗  “ขยายเครือข่าย กระจายความรู้ มุ่งสู่การเฝ้าระวัง”

4 โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
ตัวชี้วัดที่ ๑ ร้อยละสถานศึกษาในจังหวัดที่ดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ๑. โรงเรียนมัธยมศึกษา ร้อยละ ๗๐ ๒. โรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาส ร้อยละ ๗๐ ๓. โรงเรียนประถมศึกษา ร้อยละ ๑๕

5 โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
ตัวชี้วัดที่ ๒ ร้อยละ ๓๐ ของสถานศึกษาในจังหวัดที่ดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน อย.น้อย ในระดับดีขึ้นไป

6 โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
แนวทางการดำเนินงาน ๑.สนับสนุนงบประมาณให้ สสจ. ดำเนินกิจกรรม อย.น้อย (งบเพื่อ การดำเนินงานของ สสจ.) ๒.สนับสนุนงบประมาณการดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ของโรงเรียนต่างๆ โดยผ่าน สสจ.

7 โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ๓. ส่งเสริมให้นักเรียน อย.น้อย มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี “บริโภคถูกหลักโภชนาการ ปราศจากสารปนเปื้อน” เช่น : อ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสำอาง ก่อนซื้อหรือใช้ บริโภคนม ผัก และผลไม้เป็นประจำ หลีกเลี่ยงการซื้อหรือใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพตามโฆษณาชวนเชื่อ หลีกเลี่ยงการซื้ออาหารที่ใช้น้ำมันทอดซ้ำ หรือไม่ใช้น้ำมันทอดซ้ำ หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

8 โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ๔. ส่งเสริมกิจกรรมตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารและเครื่องสำอาง เพื่อให้นักเรียนได้เฝ้าระวังความปลอดภัยในโรงเรียนและชุมชนโดยรอบ ๕. ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์รับแจ้งข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน อย่างน้อยจังหวัดละ ๒ โรงเรียน เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการรับแจ้งข้อมูลจากการเฝ้าระวังของนักเรียน

9 โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ๖. จัดกิจกรรมการประกวดต่างๆ เช่น โครงงานแก้ไขปัญหาสุขภาพ ในโรงเรียน การประกวดขับร้องเพลงประจำโครงการ เป็นต้น โดยเป็น การประกวดโดยสมัครใจ และให้ส่งผลงานมาที่ อย. โดยตรง ๗. สำรวจข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน อย.น้อย ดำเนินการ โดย อย.

10 โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ๘. รายงานผลการดำเนินงาน ให้กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ภายในวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๗

11 โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
  “เครือข่ายเข้มแข็ง ผนึกกำลังพัฒนาผู้บริโภค”

12 โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
ตัวชี้วัด โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๒ โครงการทั่วประเทศ

13 โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
แนวทางการดำเนินงาน ๑. สนับสนุนโครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ในพื้นที่ โดยการสนับสนุนงบประมาณผ่าน สสจ. ๒. สนับสนุนงบประมาณให้ สสจ. ที่ส่งรายละเอียดโครงการให้ อย. ภายในเวลาที่กำหนด ๓. อย. ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงาน

14 โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ๔. อย.จัดประชุมระดับประเทศ ๑ ครั้ง เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แก่ สสจ./กลุ่ม/องค์กร ที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในพื้นที่ ๕. รายงานผลการดำเนินงาน ให้กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ภายใน วันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๗

15 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google