นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Advertisements

โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
นายสำเริง นวลปาน ตำแหน่งประธานกรรมการ นายสุเทพ เทพบุรี ตำแหน่งกรรมการ
พุทธศาสนาเถรวาท รหัสวิชา หมู่ 1.
หลักสูตรการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม พ.ศ.2548
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผศ.ดร. ม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดี 30 มกราคม 2555
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ลดอัตราการออกกลางคัน ของนักศึกษาปริญญาตรี (Drop out)
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ. ศ
ยินดีต้อนรับ คณะผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ร่วมพิจารณา ร่างหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 27 กรกฎาคม.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
ข้อเสนอยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ เขตภาคกลาง 2554 จิรวัฒน์ วีรังกร.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
การปฐมนิเทศ โดย แผนกศึกษา รร.พจ.ยศ.ทร.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
งานกิจการนิสิต
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
รายงานการวิจัย เรื่อง
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์ 21 พฤษภาคม 2556

ประเด็น การปฏิรูปการเรียนการสอน เพื่อสร้างผลการเรียนรู้ การใช้ระบบบริหารหลักสูตร ที่เน้นผลการเรียนรู้ของจุฬาฯ อย่างครบวงจร

การปฏิรูปการเรียนการสอน เพื่อสร้างผลการเรียนรู้

ได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 724 วันที่ 24 มิถุนายน 2553

ผลการเรียนรู้ของรายวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป รหัสชื่อวิชา (จำนวนหน่วยกิต) ผลการเรียนรู้ หมายเหตุ 1. มีความรู้ 2. มีคุณธรรม 3 4. ทำเป็น 5 6 7 8 9 1.1 1.2 2.1 2.2 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 รู้รอบ รู้ลึก คุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ คิดเป็น มีทักษะทางวิชาชีพ มีทักษะทางการสื่อสาร มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ มีทักษะการบริหารจัดการ ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ มีภาวะผู้นำ มีสุขภาวะ มีจิตสาธารณะ ความเป็นไทย 1. ภาษาอังกฤษพื้นฐาน (6 หน่วยกิต) l   2. สังคมศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ส่วนที่มหาวิทยาลัยรับผิดชอบ 4. สหศาสตร์ 5. มนุษยศาสตร์ รวม 18 หน่วยกิต

ผลการเรียนรู้ของรายวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป ทุกกลุ่ม เฉพาะกลุ่ม มีความรู้ (รู้รอบ) มีทักษะการบริหารจัดการ (ภาษาอังกฤษ) มีคุณธรรม (มีคุณธรรมจริยธรรม) มีภาวะผู้นำ (สังคมศาสตร์) คิดเป็น (คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา) มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ (สหศาสตร์) ทำเป็น (มีทักษะทางการสื่อสาร ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ) มีสุขภาวะ (วิทยาศาสตร์) ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ ดำรงความเป็นไทยในกระแส โลกาภิวัตน์ (มนุษยศาสตร์)

ได้รับความเห็นชอบ

ได้รับความเห็นชอบ

ได้รับความเห็นชอบ

สร้างประมวลรายวิชาใน CU-CAS ระบุวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ที่นำไปสู่การพัฒนา ผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรที่เน้นผลการเรียนรู้ สภาพแวดล้อม ส่วนสนับสนุน PROCESS เรียนรู้อะไร เนื้อหา ในหลักสูตร และ นอกหลักสูตร OUTPUT INPUT สัมฤทธิผลการเรียนรู้ นิสิตใหม่ บัณฑิต เรียนรู้อย่างไร การประเมินผล กลยุทธ์ & วิธีการ

ผลการเรียนรู้ของรายวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป ทุกกลุ่ม เฉพาะกลุ่ม มีความรู้ (รู้รอบ) มีทักษะการบริหารจัดการ มีคุณธรรม (มีคุณธรรมจริยธรรม) มีภาวะผู้นำ คิดเป็น (คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา) มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ ทำเป็น (มีทักษะทางการสื่อสาร ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ) มีสุขภาวะ ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ ดำรงความเป็นไทยในกระแส โลกาภิวัตน์

การปฏิรูปการเรียนการสอนเพื่อสร้างผลการเรียนรู้ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่จะมุ่งส่งเสริมเป็นพิเศษ ได้แก่ Interactive Learning Flipped Learning Project-based Learning Problem-based Learning Experiential Learning นำไปสู่ Education 3.0

interACTIVE LEARNING สำหรับการสอนในชั้นเรียนที่มีผู้เรียนจำนวนมาก

การสอนแบบบรรยายในชั้นเรียนขนาดใหญ่

“Learning is an active process “Learning is an active process. Learning cannot occur without the involvement of the learner. The best educators are those that most successfully create the conditions under which learning may take place.” – Learning In the Information Age

ในชั้นเรียนมีขนาดใหญ่: ใช้ Clickers

จะยังไม่ใช้ในชั้นเรียนที่มีนิสิตไม่มาก

ปัญหาของ Interactive Learning ใช้เวลาในชั้นเรียนส่วนหนึ่งไปในการทำกิจกรรม เพื่อให้อาจารย์สอนเนื้อหาได้ครอบคลุม ต้อง ส่งเสริมคณาจารย์ให้อัดการบรรยายส่วนหนึ่งของ แต่ละสัปดาห์แขวนไว้บน Blackboard และสั่งให้ นิสิตเข้าไปดู อาจสอบย่อยในชั้นเรียนเพื่อตรวจ สอบว่านิสิตได้เข้าไปดูแล้ว โดยใช้ clickers กิจกรรมนี้จะนำไปสู่ Flipped Learning ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ร่วมกับศูนย์การศึกษา ทั่วไปจะอำนวยความสะดวกในเรื่องนี้

Project-based Learning และ Problem-based Learning เป็นส่วนสำคัญของ Education 3.0 เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่จะสร้างผลการเรียนรู้หลายด้าน - คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสาร ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาวะผู้นำ ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ และทักษะการบริหารจัดการ จะขอให้ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้และศูนย์การศึกษาทั่วไป ร่วมมือกันจัดอบรมวิธีการจัดการเรียนการสอน 2 แบบนี้ให้ ผู้สอนรายวิชาศึกษาทั่วไป

Experiential Learning การจัดให้มีกิจกรรมเสริมหลักสูตร พานิสิตออกไปศึกษานอกสถานที่ ศูนย์การศึกษาทั่วไปมีงบประมาณสนับสนุนรายวิชาในกลุ่มสหศาสตร์ ส่วนรายวิชาในกลุ่มอื่นๆอาจมีการสนับสนุนงบประมาณได้ จะประสานงานกับศูนย์การศึกษาทั่วไปในเรื่องนี้

การใช้ระบบบริหารหลักสูตร ที่เน้นผลการเรียนรู้ของจุฬาฯ อย่างครบวงจร

ระบบ CU-CAS ระบบประกันคุณภาพหลักสูตร

สรุป

นโยบายหลัก 2556-2559 รายวิชาศึกษาทั่วไปทั้งหมดจะเพิ่มการใช้รูปแบบการสอนแบบใดแบบหนึ่งที่ส่งเสริมพิเศษนี้ ทุกรายวิชาจะอัดการบรรยายบางส่วนขึ้นแขวนไว้บน Blackboard ทุกรายวิชาต้องเข้ามาสร้างประมวลรายวิชาในระบบ CU-CAS ตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2556 เป็นต้นไป

ที่ช่วยกันพัฒนาการเรียนการสอน ขอขอบคุณทุกท่าน ที่ช่วยกันพัฒนาการเรียนการสอน รายวิชาศึกษาทั่วไป อย่างต่อเนื่อง เพื่อจุฬาฯของเรา