งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
ดร. บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

2 เป้าหมายการจัดการศึกษาของทุกประเทศทั่วโลก
ช่วยให้เยาวชนมีความเฉลียวฉลาด ช่วยให้เยาวชนเป็นคนดี ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

3 จุดมุ่งหมายการจัดการศึกษา (ตาม พ.ร.บ./หลักสูตร)
เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้มีความดี ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

4 ผลที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียน จากการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ
คุณภาพผลงาน (สูงขึ้น) ระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน (สูงขึ้น) คะแนนจากการทดสอบด้วยแบบทดสอบ มาตรฐาน / เครื่องมืออื่น ๆ (สูงขึ้น) ปัญหาด้านระเบียบ วินัย (ลดลง) อัตราการมาเรียน (สูงขึ้น) มีทักษะชีวิต (สูงขึ้น) ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

5 การสร้างความมั่นใจเกี่ยวกับ คุณภาพการจัดการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา - การประกันคุณภาพภายใน - การประเมินคุณภาพภายนอก ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

6 ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.
การทดสอบระดับชาติ ถูกใช้เป็นยุทธศาสตร์เชิงนโยบาย เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการแสดงความ รับผิดรับชอบการจัดการศึกษา ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

7 เครื่องมือที่จะใช้ เพื่อการตรวจสอบ ความรับผิดรับชอบในการจัดการศึกษา
ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

8 การประกันคุณภาพ (Quality assurance : QA)
: กระบวนการที่ออกแบบเพื่อประกันความ สำเร็จตามมาตรฐานทางวิชาการและ ส่งเสริมโอกาสการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้มีคุณภาพในระดับ ซึ่งเป็นที่ยอมรับ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

9 : ระดับสัมฤทธิ์ผลที่ผู้เรียนต้อง ได้รับ เพื่อสำเร็จการศึกษา
มาตรฐานวิชาการ (Academic standards) : ระดับสัมฤทธิ์ผลที่ผู้เรียนต้อง ได้รับ เพื่อสำเร็จการศึกษา ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

10 คุณภาพวิชาการ (Academic quality)
: โอกาสการเรียนรู้ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิด สัมฤทธิ์ผลดีเพียงใด เพื่อสร้างความมั่นใจ ว่าการสอน การสนับสนุน การประเมิน เหมาะสมมีประสิทธิภาพ และได้มีการจัด โอกาสการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

11 ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.
รูปแบบการประกันคุณภาพ : พัฒนาขึ้นเพื่อกระตุ้นความร่วมมือกันระหว่าง ผู้มีส่วนได้-เสียทุกกลุ่ม จุดสำคัญที่สุด คือ การพัฒนาระบบเพื่อให้กิจกรรมหลักที่เราต้องการพัฒนาตามนโยบาย ดำเนินไปอย่างดีที่สุด และสร้างความมั่นใจเกี่ยวกับการบริการที่มีคุณภาพสูง ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

12 การประเมินภายนอก (External evaluation)
มุ่งควบคุม ให้ข้อชี้แนะ แก่โรงเรียน มุ่งประกันความมั่นใจเกี่ยวกับคุณภาพ การศึกษาที่จัด ประกันความมั่นใจว่า โรงเรียนที่ต่างกันจะไม่ ทำให้ผลแตกต่างกัน และจะมีผลลัพธ์ตามที่ ตกลงกันไว้ ทำให้สาธารณชนตระหนักเรื่องของคุณภาพ ที่ปรากฏ โดยการรายงานถึงสภาพทั่วไป ของระบบการศึกษา หรือโรงเรียน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

13 ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.
การประเมินภายนอก (ต่อ) ถูกผลักดัน ขับเคลื่อนโดยความต้องการ แสดงความรับผิดชอบ แต่อาจมีมุมมอง ของการปรับปรุงให้ดีขึ้น เป็นแรงกระตุ้นให้โรงเรียนพัฒนา โดยให้ ข้อมูลเพื่อใช้เปรียบเทียบเป็นเครื่องมือ ในการบริหาร ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

14 การประเมินคุณภาพภายนอก
ความรับผิดรับชอบ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

15 การประเมินภายใน (Internal evaluation)
: กระบวนการทบทวนคุณภาพ ดำเนินการภายในองค์กร เพื่อผลปลายทางของตนเอง ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

16 การประกันคุณภาพภายใน
การปรับปรุงพัฒนา ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

17 ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.
ข้อกำหนดการวัดและประเมินผลการเรียน ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน  ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา  ระดับชาติ  ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

18 การประเมินระดับใด ที่จะทำให้ได้ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา
การประเมินระดับใด ที่จะทำให้ได้ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา การเรียนรู้ของผู้เรียนมากที่สุด ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

19 จะทำอย่างไรให้การประเมิน เป็นประโยชน์กับทุกคน ?
ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

20 ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.
We must change from a model that picks winners to one that will create winners. Harold Hodgkinson Michigan and Its Educational System, 1989. ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

21 ลักษณะเฉพาะตัว ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ความหลากหลาย วัฒนธรรม ภาษา ชาติพันธุ์ เพศ สถานะทางสังคม อายุ วิธีการเรียนรู้ ศาสนา ที่อยู่ ลักษณะเฉพาะตัว ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน การเรียนรู้ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

22 การเรียนรู้ของผู้เรียน
แผนภูมิแสดงตัวบ่งชี้คุณภาพโรงเรียน และ ความสัมพันธ์ของตัวบ่งชี้กับการเรียนรู้ของผู้เรียน บริบทของโรงเรียน ภาวะผู้นำ เป้าหมาย, นโยบาย ชุมชนที่เป็นมืออาชีพ ระเบียบวินัย สภาพแวดล้อมที่ดี เป็นวิชาการ ครู ชั้นเรียน ทักษะทางวิชาการ การสอนที่ได้รับ มอบหมาย ประสบการณ์ การได้รับการ พัฒนาด้านอาชีพ เนื้อหาที่เรียน วิธีการสอน เทคโนโลยี ขนาดชั้นเรียน การเรียนรู้ของผู้เรียน Mayer และคณะ, U.S. Department of Education Office of Educational Research and Improvement ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

23 ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.
ประเด็นพิจารณา : จะทำอย่างไรให้การประเมินทำหน้าที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บังเกิดผลต่อ การพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน จะทำอย่างไรให้กระบวนการประเมิน ทำหน้าที่เป็นเครื่องมือในการกระตุ้น ให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

24 ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.
1. positive skew: The right tail is longer; the mass of the distribution is concentrated on the left of the figure. The distribution is said to be right-skewed. 2. negative skew: The left tail is longer; the mass of the distribution is concentrated on the right of the figure. The distribution is said to be left-skewed. ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.

25 ขอขอบคุณที่ให้ความสนใจรับฟังการบรรยาย
สวัสดีค่ะ สวัสดีค่ะ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ที่ปรึกษา สพฐ.


ดาวน์โหลด ppt การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google