ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
Lean กลุ่ม 1 เครือข่ายและเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บริการผลการศึกษาทันใจกับ สทป.
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
Graduate School Khon Kaen University
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ผศ.ดร. ม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดี 30 มกราคม 2555
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
2.2 สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ.2554 (ประเภทโครงการใหม่ที่พัฒนาหน่วยงาน)
โปรแกรมสำหรับออกรหัสประเภทกิจกรรม (Activity Type)
การนำเสนอโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ในฝ่ายการพัสดุ
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ทำไมผู้บริหารจึงไม่ให้ความสำคัญกับ โครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
โดย … นางสาวนันทภรณ์ จรูญศรี นางสาวมุกดา ฉิมวงศ์
การกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
การเขียนข้อเสนอโครงการ
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ของนักศึกษาระดับ ปวส
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
หลักการเขียนโครงการ.
การปรับปรุงกระบวนการ จัดเตรียมตัวอย่างตรวจทาง serology ปี 2 หน่วยภูมิคุ้มกันวิทยา.
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย

เอกสารการขอตำแหน่งทางวิชาการ : ทำอย่างไรสบายใจทั้ง 2 ฝ่าย ชื่อโครงการ เอกสารการขอตำแหน่งทางวิชาการ : ทำอย่างไรสบายใจทั้ง 2 ฝ่าย

ผู้จัดทำโครงการ กลุ่มปิดทองหลังพระ นางอังคณา ห้าวเจริญ ประธานกลุ่ม นางอังคณา ห้าวเจริญ ประธานกลุ่ม นางยุพินย์ กิตติลดากุล สมาชิกกลุ่ม นางสาวคุณาสิริ เกตุปมา สมาชิกกลุ่ม นางสาววีณะกุล ตันติประวรรณ สมาชิกกลุ่ม นางสาวภัคจิรา กุลดิลกสัมพันธ์ สมาชิกกลุ่มและเลขานุการ

ที่มาของโครงการ หน้าที่ของฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ : ตรวจเอกสารในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการให้ถูกต้องก่อนเสนอคณะวุฒยาจารย์ ผลการตรวจสอบ : มีข้อผิดพลาดต้องแก้ไขเกือบทุกชุด และชุดละมากกว่าหนึ่งครั้ง

วิธีการที่จะทำให้จำนวนครั้งในการแก้ไขเอกสารต่างๆ ผลของความผิดพลาด : ทำให้เสียความรู้สึกทั้ง 2 ฝ่าย คือ ผู้ขอกำหนดตำแหน่งและฝ่ายเลขานุการคณะวุฒยาจารย์ ทำให้เสียเวลาในการส่งเอกสารกลับคืนไปมาระหว่างคณะกับฝ่ายเลขานุการคณะวุฒยาจารย์ วิธีการที่จะทำให้จำนวนครั้งในการแก้ไขเอกสารต่างๆ ลดลงจึงเป็นเรื่องที่ควรจัดทำ

เป้าหมายของโครงการ ลดภาระงานในการแก้ไขเอกสารเกี่ยวกับการขอตำแหน่งทางวิชาการ ลดเวลาในการขอตำแหน่งทางวิชาการตั้งแต่ยื่นเอกสาร - เข้าประชุมคณะวุฒยาจารย์

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ ร้อยละของการแก้ไขเอกสารเกี่ยวกับการขอตำแหน่งทางวิชาการลดลงจาก 100% เหลือ 50%

ขั้นตอนการดำเนินงาน  จัดทำสถิติข้อผิดพลาดและกำหนดข้อผิดพลาดที่พบมากที่สุด 14 รายการ  วิเคราะห์สาเหตุข้อผิดพลาด  จัดทำเครื่องมือแก้ไขข้อผิดพลาด (เอกสารข้อผิดพลาดและแบบสอบถาม)  ส่งเครื่องมือแก้ไขข้อผิดพลาดไปให้คณะกลุ่มตัวอย่าง 3 คณะ  วิเคราะห์เปรียบเทียบความถี่ของข้อผิดพลาดก่อนและหลังการดำเนินงาน  สรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย

ข้อผิดพลาดที่พบในแบบ ก.พ.อ.03 1. ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการกรอกแบบ ก.พ.อ.03 : 14 รายการ ข้อผิดพลาดที่พบในแบบ ก.พ.อ.03 1. อายุตัว 2. วุฒิการศึกษา 3. อายุราชการ ภาระงานย้อนหลัง 3 ปี 4. งานสอน 5. งานบริการทางวิชาการ 6. งานบริหาร 7. งานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 8. ขั้นเงินเดือน 9. วันที่แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง อ., ผศ., รศ. ผลงานทางวิชาการ 10. ไม่ใส่เครื่องหมายคำพูดในชื่อเรื่อง 11. ระบุชื่อผู้แต่งไม่ครบ 12. ไม่ใส่รายวิชาที่สอน 13. ไม่ระบุจำนวนหน้าหรือเลขหน้า 14. ไม่ระบุปริมาณงานและหน้าที่

2. ผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ผู้เสนอขอไม่สนใจหรือให้ผู้อื่นกรอกแบบ ก.พ.อ.03 ไม่ทราบวิธีการกรอกแบบ ก.พ.อ.03 ไม่ทราบแหล่งที่จะหาข้อมูลที่ระบุในแบบ ก.พ.อ.03 เช่น วุฒิการศึกษา วันรับราชการ ขั้นเงินเดือน เจ้าหน้าที่ของส่วนงานไม่ช่วยตรวจสอบเอกสารก่อนส่งเรื่องไปดำเนินการต่อ

3. เครื่องมือแก้ไขข้อผิดพลาด เอกสารแก้ไขข้อผิดพลาดที่ควรระมัดระวังในการกรอกแบบเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ (ก.พ.อ.03) (หน้า 1) (หน้า 2) แบบสอบถาม “ขอทราบความคิดเห็นเกี่ยวกับเอกสารข้อผิดพลาดที่ควรระวังในการกรอกแบบเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ (ก.พ.อ.03)”

คณะแพทยศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ 4. ส่งเครื่องมือแก้ไขข้อผิดพลาดไปให้คณะกลุ่มตัวอย่าง 3 คณะ คณะแพทยศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์

ข้อผิดพลาดที่พบในแบบ ก.พ.อ.03 5. ตารางการเปรียบเทียบจำนวนครั้งของข้อผิดพลาดในแบบ ก.พ.อ.03 ตามเป้าหมายข้อ 1 ข้อผิดพลาดที่พบในแบบ ก.พ.อ.03 จำนวนครั้ง ก่อน หลัง 1. อายุตัว 11 4 2. วุฒิการศึกษา 5 2 3. อายุราชการ 9 ภาระงานย้อนหลัง 3 ปี 4. งานสอน 8 1 5. งานบริการทางวิชาการ 6. งานบริหาร 7. งานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 8. ขั้นเงินเดือน 3 9. วันที่แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง อ., ผศ., รศ. ผลงานทางวิชาการ 10. ไม่ใส่เครื่องหมายคำพูดในชื่อเรื่อง 11. ระบุชื่อผู้แต่งไม่ครบ 12. ไม่ใส่รายวิชาที่สอน 13. ไม่ระบุจำนวนหน้าหรือเลขหน้า 14. ไม่ระบุปริมาณงานและหน้าที่

แผนภูมิการเปรียบเทียบเวลาที่ใช้ขอกำหนดตำแหน่งฯ ตามเป้าหมายข้อ 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์, รองศาสตราจารย์ ก่อน หลัง ผู้เสนอขอ 9 วัน 8 วัน คณะ 1 เดือน 25 วัน 1 เดือน 8 วัน อ.วจ. 2 เดือน 22 วัน 1 เดือน 14 วัน วจ. 16 วัน 17 วัน คณะ รวม 5 เดือน 12 วัน รวม 3 เดือน 17 วัน ผู้อ่านผลงานฯ อ.วจ. วจ. สภามหาวิทยาลัย

ขั้นตอนดำเนินงานในการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์, รองศาสตราจารย์

แผนภูมิการเปรียบเทียบเวลาที่ใช้ขอกำหนดตำแหน่งฯ ตามเป้าหมายข้อ 2 ศาสตราจารย์ ก่อน หลัง ผู้เสนอขอ 6 วัน 1 วัน คณะ 3 เดือน 12 วัน 2 เดือน 2 วัน อ.วจ. 2 เดือน 4 วัน 1 เดือน 9 วัน วจ. รวม 5 เดือน 22 วัน รวม 3 เดือน 12 วัน ผู้อ่านผลงานฯ วจ. สภามหาวิทยาลัย

แผนภูมิการเปรียบเทียบเวลาที่ใช้ขอกำหนดตำแหน่งฯ ตามเป้าหมายข้อ 2 ศาสตราจารย์

ตารางแสดงผลความคิดเห็น ได้รับแบบสอบถามจากคณะที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง 3 คณะ จำนวน 42 ชุด ปรากฏผลดังนี้ ประเด็น มากที่สุด ร้อยละ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 1. ได้ประโยชน์ 15 35.17 21 50 6 14.28 - 2. ได้รับความสะดวก 10 23.80 11 26.19

ตรงตามเป้าหมายทั้ง 2 ข้อ 6. สรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย ตรงตามเป้าหมายทั้ง 2 ข้อ

ผลลัพธ์การดำเนินการ 1. ลดการแก้ไขเอกสารจากเดิม 100% เหลือ 50% โดยประมาณ 2. ลดเวลาในการขอตำแหน่งทางวิชาการ (ตั้งแต่ยื่นเอกสาร-เข้าประชุม วจ.) 3. ผู้เสนอขอได้รับประโยชน์และความสะดวกในการกรอกแบบ ก.พ.อ.03 4. เจ้าหน้าที่ของส่วนงานมีความเข้าใจวิธีการกรอกและตรวจสอบแบบ ก.พ.อ.03 ให้ถูกต้องมากขึ้น

ขอขอบพระคุณค่ะ