งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปรับปรุงกระบวนการ จัดเตรียมตัวอย่างตรวจทาง serology ปี 2 หน่วยภูมิคุ้มกันวิทยา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปรับปรุงกระบวนการ จัดเตรียมตัวอย่างตรวจทาง serology ปี 2 หน่วยภูมิคุ้มกันวิทยา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปรับปรุงกระบวนการ จัดเตรียมตัวอย่างตรวจทาง serology ปี 2 หน่วยภูมิคุ้มกันวิทยา

2 โครงการ ลดเวลาในการค้นหา สิ่งส่งตรวจ Sero OK

3 ผู้ร่วมงาน  หัวหน้าโครงการ : กุศล ณ. สงขลา  ผู้ร่วมโครงการ : สุวัติ ชูกำเนิด : บุญญา พรหมมา : บุญญา พรหมมา : นภัสกร อวภาค : นภัสกร อวภาค  พี่เลี้ยง : จินตนา ประดุจกาญจนา : มาริษา เขมะพันธุ์ มนัส : มาริษา เขมะพันธุ์ มนัส  ที่ปรึกษา : รุ่งเรือง จารุ มโนกุล

4 ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างตรวจ

5 ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างตรวจ

6 ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างตรวจ

7 การทดสอบของหน่วยภูมิคุ้มกัน วิทยา รายการ ทดสอบ หลักการ ทดสอบ วันที่ทำการ ทดสอบ ผู้ทำการ ทดสอบ Anti HIV MEIAทุกวัน รุ่งเรือง / สม พร / มาริษา VZV Ab. ELISA 1 ครั้ง / เดือน มาริษา CMV IgM ELISA 2 ครั้ง / เดือน จินตนา ANAIFA อังคาร, พฤพัส ไพวรรณ์

8 ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างตรวจ

9 ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างตรวจ

10 ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างตรวจ

11 ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างตรวจ

12 ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างตรวจ

13 ปัญหา.. คือ ผลกระทบ : 1. ทำให้การทดสอบ ล่าช้า รายงานผลได้ ไม่ตรงตาม กำหนดเวลา 2. ส่งผลให้งานอื่นๆ ล่าช้าไปด้วย 3. ผู้ปฏิบัติงาน อารมณ์เสีย หงุดหงิด แก่เร็ว เครียด ( เป็นโรค กระเพาะ ) เสียเวลา หา ตัวอย่าง ตรวจ นาน …….

14 สาเหตุของ ปัญหา  ซีรั่มน้อย และส่งตรวจหลาย การทดสอบ ผู้ทำการ ทดสอบแรกๆ ไม่นำตัวอย่าง ส่งคืนกล่องเดิม  เก็บซีรั่มผิดกล่อง ( เก็บผิดที่ เขียนชื่อผิด / ไม่ชัด )  เขียนชื่อการทดสอบไม่ครบ

15 วัตถุประสงค์  ลดเวลาค้นหาตัวอย่าง ตรวจ  ลดความผิดพลาดของการ จัดเก็บสิ่งส่งตรวจ

16 วิธีดำเนินงาน 1. ตัวอย่างที่มีปริมาณ น้อย และส่ง ตรวจหลาย การทดสอบ 2. การเขียนชื่อการ ทดสอบที่หลอดเก็บ ตัวอย่างตรวจ 3. วิธีการเก็บตัวอย่างใน กล่องเก็บเฉพาะแต่ละ การทดสอบ ทบทวน ระเบียบปฏิบัติ หาแนวทาง แก้ไขปัญหา ทำแบบบันทึก ตรวจสอบ วิเคราะห์ปัญหา แต่ละประเด็น

17 1. ระเบียบปฏิบัติสำหรับตัวอย่างที่มีปริมาณน้อย และส่งตรวจหลายการทดสอบ เจ้าหน้าที่ลงทะเบียน แบบบันทึกที่ 1 - วันที่ - sero no. - รายการทดสอบ ลงบันทึก ผู้ทำการ ทดสอบ นำตัวอย่างไปทำการทดสอบ กล่อง “ ซีรั่มตรวจหลายอย่าง ” นำตัวอย่างเก็บ ส่งคืนตัวอย่าง หากผู้ทำการทดสอบรายการต่อไปหาตัวอย่าง ไม่พบ ไปดูที่แบบบันทึกและรายการในคอมฯ ก็จะทราบว่าตัวอย่างอยู่ที่ใดลงบันทึก ระบุรหัสบุคลากรปัญหา ไว้ในแบบบันทึกด้วย

18 2. ทบทวนระเบียบปฏิบัติ สำหรับการเขียนชื่อการทดสอบ ที่หลอด เก็บตัวอย่างตรวจ  เขียนชื่อ อักษรย่อ ให้ชัดเจน ( อ่านออก ) ตย. Ct = Cryptococcus และ Lt = Leptospirosis ตย. Ct = Cryptococcus และ Lt = Leptospirosis HIV และ HCV HIV และ HCV  เปลี่ยนวิธีการเขียน ให้อ่านง่ายมากขึ้น เช่น ใช้ ตัวพิมพ์ใหญ่  ศึกษาให้ถี่ถ้วนว่า อักษรย่อชื่อการทดสอบที่ใช้ อยู่ในปัจจุบัน เหมาะสมหรือไม่ ??? เช่น Salmonalosis Ab ใช้อักษรย่อว่า WD ( สังเกตว่าไม่สื่อกับชื่อเต็ม อาจมีการหาข้อสรุปใน การเปลี่ยนแปลงต่อไป )

19 3. ทบทวนวิธีสำหรับการเก็บตัวอย่าง ในกล่องเก็บเฉพาะแต่ละการทดสอบ ปั่นแยกซีรั่ม และดูดใส่ในหลอดเก็บซีรั่ม นำไปวางในกล่องเก็บซีรั่ม ให้ถูกต้อง ตามชื่อการทดสอบนั้นๆ เก็บซีรั่ม ลงกล่องเก็บเฉพาะการทดสอบนั้นๆ วันละ 2 รอบ คือ รอบ 12.00 น. และ 16.00 น.

20 วิธีดำเนินงาน 1. ตัวอย่างที่มีปริมาณ น้อย และส่ง ตรวจหลาย การทดสอบ 2. การเขียนชื่อการ ทดสอบที่หลอดเก็บ ตัวอย่างตรวจ 3. วิธีการเก็บตัวอย่างใน กล่องเก็บเฉพาะแต่ละ การทดสอบ ทบทวนระเบียบปฏิบัติ หาแนวทางแก้ไขปัญหา ทำแบบบันทึก ตรวจสอบ วิเคราะห์ปัญหา แต่ละประเด็น

21 แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. จัดทำแบบบันทึก รายการตัวอย่างที่มีปริมาณน้อย แต่ส่งหลายการทดสอบ รายการ ตัวอย่าง มีปริมาณน้อยที่ส่งหลายการ ทดสอบ รายการ ตัวอย่าง มีปริมาณน้อยที่ส่งหลายการ ทดสอบ ประจำเดือน......................... วันที่ วันที่ Sero no. การทดสอบหมายเหตุ 25/5/2 006 1111- 05 ANARFHBTH รหัส 2 ไม่ ส่งคืน

22 2. ประเมินผลจากแบบบันทึก 1. ว่า การทดสอบใดที่ทำแล้ว ไม่นำส่งคืนตัวอย่างและบันทึกเป็นสถิติ เพื่อปรับปรุงแก้ไขระเบียบวินัย บันทึกสถิติผู้มีระเบียบ วินัย เป็นเลิศ ประจำเดือน................ วัน ที่ รหัส 2 รหัส 3 รหัส 4 รหัส 5 รหัส 6 รหัส 7 รหัส 8 รหัส 9 รหัส 10 รหัส 20 tot al

23 3. จัดทำบันทึก ปัญหาจากการเก็บตัวอย่างก่อนการวิเคราะห์ บันทึกปัญหาจากการเก็บตัวอย่างก่อนการตรวจวิเคราะห์ (SeroOK) ประจำเดือน …………………………………….. dat e sero No. เก็บผิด กล่อง เก็บผิด กล่อง เขียนชื่อ test ผิด มีปริมาณ น้อย หาไม่ เจอ อื่น ๆ 1/ 6/0 6 1/ 6/0 6 25- 06 25- 06 - / - / -

24 4. บันทึกความผิดพลาดของการลงทะเบียน ที่อาจเป็นเหตุให้จัดเก็บตัวอย่างไม่ถูกต้อง ความผิดพลาดของการลงทะเบียน ประจำเดือน............... วัน ที่ se ro no. ผู้ตร วจ ผู้ ลงทะเ บียน test ผิด test ไม่ ครบ test เกิน HN. ผิด ไม่ระบุ note เลือดสามี / ภรรยา / บุตร 1/6 /06 1/6 /06 1- 06 1- 06 3 2 / - - - -

25 เป้าหมายหรือตัวชี้วัด  ลดความผิดพลาดจากการ จัดเก็บตัวอย่างตรวจ จากเดือน ละ 10 ราย เหลือน้อยกว่า 2 ราย  ลดจำนวนตัวอย่างตรวจ ที่ต้อง ค้นหาจาก ~ 100 ราย เหลือ น้อยกว่า 20 ราย / เดือน

26 ผลที่คาดว่าจะ ได้รับ  ลดเวลาในการค้นหาตัวอย่าง ตรวจ ทำให้สามารถทำการ ทดสอบได้ตามกำหนด  สร้างความพึงพอใจแก่ผู้ ปฏิบัติการ


ดาวน์โหลด ppt การปรับปรุงกระบวนการ จัดเตรียมตัวอย่างตรวจทาง serology ปี 2 หน่วยภูมิคุ้มกันวิทยา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google