การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
เอกสารที่ต้องยื่นในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
เล่าเรื่อง:โครงการเก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายวิชาการ พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายสนับสนุน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
กระบวนการลงทะเบียนควบคุมครุภัณฑ์
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
สรุปกิจกรรม : โสเหล่ครั้งที่ 5 การเตรียมสอบสอน/การยื่นผศ. 29 พ. ค
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
03/10/571 โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสนย.. 03/10/572 โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสนย.
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประกาศต่างๆที่ออกให้สอดคล้องกับข้อบังคับฯบัณฑิตศึกษา
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
คณะเกษตรศาสตร์ มช. ทำไมต้องหลอมรวม??? พิทยา สรวมศิริ 6 มิถุนายน 2546.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยทักษิณ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และระเบียบอื่นที่เกี่ยวเนื่อง นายธานินทร์ เงินถาวร งานบริการการศึกษา.
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ คณะกรรมการวิชาการ สภาคณาจารย์ 04/04/60

บุคลากรสายวิชาการ 04/04/60

ประเภทและจำนวนของพนักงาน 04/04/60

สถานภาพสายวิชาการ สายอาจารย์ = 40.20 : 47.92 : 11.88 ข้าราชการ:พนักงานเงินอุดหนุน :พนักงานเงินรายได้ = 40.20 : 47.92 : 11.88 04/04/60

ศ.: รศ. : ผศ.: อ. จำนวนอาจารย์: 2882 คน ตำแหน่งวิชาการ เมย. 52 99 : 809 : 854 : 1120 3.4: 28.6 : 29.6: 38.9 04/04/60

ประเภทข้าราชการ 04/04/60

ประเภทพนักงานมหาวิทยาลัย 04/04/60

สรุปยอดผู้ขอกำหนดตำแหน่งวิชาการแบบ กพอ. ต.ค. 49 –มี.ค. 52 04/04/60

สรุปยอดผู้ขอกำหนดตำแหน่งวิชาการแบบ กพว. ต.ค. 49 –มี.ค. 52 04/04/60

อุปสรรคต่อการก้าวสู่ตำแหน่งวิชาการ เกณฑ์ภาระงานสอนที่ไม่เป็นธรรม จำนวนและคุณภาพนิสิตบัณฑิตศึกษาไม่สมดุล ทุนหลังปริญญาเอกน้อยมาก ทุนวิจัยและทุนอุดหนุนการวิจัยที่ไม่มากพอ Infrastructures พื้นฐานสนับสนุนการวิจัย คุณภาพของผลงานจากวิทยานิพนธ์ส่วนใหญ่ยังไม่ถึงมาตรฐานนานาชาติ และ ม. ไม่ถือว่า งานวิทยานิพนธ์เป็นของอาจารย์ด้วย ระบบการประเมิน กพอ. 2550 และที่ปรับปรุงให้ยากขึ้นที่ตามมา 04/04/60

ภาระงานสอนที่ไม่เป็นธรรม ภาระงานสอนปริญญาตรี วิชาพื้นฐานที่ต้องสอนหลายกลุ่มในภาคการศึกษาเดียวกัน นิสิตจำนวนมากและมีคุณภาพน้อยเป็นส่วนใหญ่ การเตรียมสอนโดยเฉพาะปฏิบัติการที่ใช้เวลามาก การตรวจการบ้านจำนวนมาก การตรวจข้อสอบจำนวนมาก ผู้ช่วยสอนไม่เพียงพอและไม่เก่งพอ สื่อช่วยสอนล้าสมัยและขาดแคลน จึงไม่มีเวลาทำงานวิจัยที่มีผลงานดีพอเพื่อตีพิมพ์ 04/04/60

องค์ประกอบที่ไม่เอื้อต่อการวิจัย นิสิตบัณฑิตศึกษาที่พร่องคุณภาพและขาดความรับผิดชอบ อุปกรณ์ล้าสมัย อุปกรณ์วิจัยไม่เพียงพอ กำหนดเวลาปิดมหาวิทยาลัยทำให้งานวิจัยไม่ต่อเนื่อง ข้อบังคับของบัณฑิตวิทยาลัยไม่เป็นธรรมต่ออาจารย์ที่ปรึกษา นิสิตไม่สามารถเขียนบทความวิจัยได้ด้วยตนเอง นิสิตส่วนใหญ่มีทักษะด้านภาษาวิชาการและภาษาเขียนต่ำ หลักสูตรนานาชาติมีค่าตอบแทนดีกว่าการทำงานวิจัย 04/04/60

องค์ประกอบที่ไม่เอื้อต่อการวิจัย มหาวิทยาลัยไม่ให้ทุนวิจัยเพียงพอและต่อเนื่อง ทุนสนับสนุนบัณฑิตศึกษาไม่เป็นรูปธรรม ไม่จูงใจคนเก่งมาเรียน ทุนวิจัยขนาดใหญ่จากแหล่งทุนภายนอกมีการแข่งขันสูง กฎเกณฑ์การใช้เงินวิจัยไม่คล่องตัว มีระเบียบเคร่งครัดมากเกินพอดี แต่ละห้องปฏิบัติการขาดอุปกรณ์วิจัยระดับลึก ไม่เอื้อเฟื้อยเครื่องมือวิจัยระหว่างห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์วิจัยพื้นฐานเก่าและแก่มาก ล้าสมัย ชำรุดบ่อย ทำให้เสียเวลา ขาดการเข้าถึงอุปกรณ์วิจัยอย่างทันปัญหาที่ต้องการแก้ไข ค่าวิเคราะห์ต่อตัวอย่างมีราคาสูง ต้องพึ่งต่างมหาวิทยาลัย 04/04/60

องค์ประกอบที่ไม่เอื้อต่อการวิจัย ขาดความสามารถในเขียนบทความต้นฉบับ ขาดการวิเคราะห์ผลที่ทันสมัยและตรงประเด็น รูปแบบของกราฟิกไม่น่าสนใจ ขาดทักษะการเลือกวารสารที่เหมาะสมกับงาน ขาดทักษะการโต้ตอบเวลา revise บทความ 04/04/60

การประเมินของ กพอ. การประเมิน จุกจิก น่าเบื่อ เสียเวลาในเอกสาร กพอ. มาก แบบแสดงการมีส่วนรวมเปลี่ยนบ่อยมาก ทำให้เสียเวลาล่าลายเซ็น (ปัจจุบัน ต้องรับรองซึ่งกันและกัน ขั้นตอนก่อนถึงกรรมการประเมินและการประเมินนานเกินไป ใช้เวลาหลายปี จนลืม ตำรา หรือ หนังสือ ต้องใช้แล้ว 1 ภาคการศึกษาไม่สมเหตุผล แม้ว่าจะเป็นการพิมพ์ใหม่ เนื่องจากเปลี่ยนวันพิมพ์ กรรมการประเมินอคติ ไม่ยุติธรรม (ใจดี ใจร้าย) ต่างกัน เกณฑ์ กพอ. หลายข้อไม่ทันสมัยและน่าเบื่อหน่าย 04/04/60

เกณฑ์ กพอ. ที่น่าแก้ไข ? ต้องมีส่วนร่วมร้อยละ 50 ถ้ามีผู้วิจัย 3 คน ขึ้นไป จะทำอย่างไรดี ในเมื่อนิสตต้องได้มากกว่าหัวหน้าโครงการ ต้องเป็นหัวหน้าโครงการหลัก ผู้อาวุโสน้อยจะทำอย่างไรดี ต้องมีงานวิจัยและงานวิจัยต้องผ่านก่อน จึงดูเรื่องอื่นต่อ ต้องมีหนังสือ หรือ ตำรา ในขั้นตอนขอกำหนด รศ. บทความหรือ ตำรา ถ้าไม่ผ่านครั้งแรก ใช้ใหม่ไม่ได้ในครั้งต่อไป (แม้ว่าแก้ไขแล้ว แต่ต้องเปลี่ยนชื่อหนังสือ เสียเงินพิมพ์ใหม่ อาจถึงหลักหมื่นบาท หรือ แสนบาท) 04/04/60

สรุปสาเหตุไม่อยากทำผลงานวิชาการ ภาระงานสอนที่ไม่พอดี มากเกินไป ความไม่เสมอภาคของการส่งเสริม คุณภาพบัณฑิตศึกษาต่ำ ภาระความรับผิดชอบต่อครอบครัว หรือ ต้องหารายได้ ไม่ชอบงานวิจัย ชอบงานสอน ขาดพี่เลี้ยง ขาดอุปกรณ์ ขาดทักษะการวิจัย ผู้บังคับบัญชาให้ความดีความชอบด้านอื่นมากกว่าด้านวิจัย 04/04/60

ขอบคุณ และข้อคิดเห็น 04/04/60