ระหว่างวันที่ 22-24 กรกฎาคม 2554 โรงเรียนตากพิทยาคม การอบรมหลักสูตร Intel ® Teach Elements: การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Approaches) ระหว่างวันที่ 22-24 กรกฎาคม 2554 โรงเรียนตากพิทยาคม
หลักสูตรต่าง ๆ ใน Intel ® Teach Elements การประเมินในห้องเรียนแห่งศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ร่วมกันในห้องเรียนดิจิทัล ภาวะผู้นำทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 การคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยข้อมูลสารสนเทศ
โครงสร้างของหลักสูตร 5 หน่วย แต่ละหน่วยประกอบด้วย 3-6 บท แต่ละบท ประกอบด้วย บทเรียน e-learning แบบอินเทอร์แอคทีฟ แผนปฏิบัติงาน การอภิปราย
องค์ประกอบของหลักสูตร หน่วยที่ 1 ภาพรวมของโครงงาน หน่วยที่ 2 การออกแบบโครงงาน หน่วยที่ 3 การประเมิน หน่วยที่ 4 การวางแผนโครงงาน หน่วยที่ 5 การชี้แนะการเรียนรู้
หน่วยที่ 1 ภาพรวมของโครงงาน บทที่ 1 พื้นฐานโครงงาน บทที่ 3 คุณลักษณะของโครงงาน บทที่ 4 การทบทวนหน่วย บทที่ 2 ประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นโครงงาน
หน่วยที่ 2 การออกแบบโครงงาน บทที่ 1 การวางแผนโครงงาน บทที่ 3 คำถามที่กำหนดกรอบการเรียนรู้ บทที่ 5 การทบทวนหน่วย บทที่ 4 การออกแบบกิจกรรม บทที่ 2 เป้าหมายการเรียนรู้
หน่วยที่ 3 การประเมิน บทที่ 1 กลวิธีการประเมินสำหรับโครงงาน บทที่ 3 การวางแผนการประเมิน บทที่ 5 การทบทวนหน่วย บทที่ 4 การให้คะแนนโครงงาน บทที่ 2 การประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21
หน่วยที่ 4 การวางแผนโครงงาน บทที่ 1 องค์ประกอบโครงงาน บทที่ 3 ภาระงานในโครงงานและกิจกรรม บทที่ 4 การทบทวนหน่วย บทที่ 2 กลวิธีการบริหารจัดการ
หน่วยที่ 5 การชี้แนะการเรียนรู้ บทที่ 1 การตั้งคำถามในห้องเรียน บทที่ 3 ความรู้ความเข้าใจในสารสนเทศ บทที่ 5 การทบทวนหน่วย บทที่ 4 การสะท้อนความเห็นของนักเรียน บทที่ 2 การทำงานแบบมีความร่วมมือและการกำกับตนเอง
หน่วยที่ 1: ภาระงาน สร้าง 1 โฟลเดอร์ บันทึกด้วยชื่อสกุลของตนเอง บันทึกแผนปฏิบัติงาน
หน่วยที่ 2: การออกแบบโครงงาน ในขั้นตอนของการวางแผน มี 4 ขั้นตอนที่สำคัญในการออกแบบโครงงาน ดังนี้ กำหนดเป้าหมาย (มาตรฐาน, ทักษะศตวรรษที่ 21 และวัตถุประสงค์) พัฒนาคำถามกำหนดกรอบการเรียนรู้ (คำถามสร้างพลังคิด คำถามประจำหน่วยและคำถามประจำบท) วางแผนการประเมิน (ระบุเครื่องมือประเมินรายทาง และปลายทาง) กิจกรรมการออกแบบ (เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ และกำหนดระยะเวลาการประเมิน)
หน่วยที่ 3: การประเมิน คิด วางแผนว่าจะบูรณาการการประเมินเข้าเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้อย่างไร ระยะเวลาการประเมิน (timeline) (จะประเมินรายทางหรือปลายทาง) เครื่องมือที่จะใช้ประเมิน (กระบวนการและวัตถุประสงค์) จะออกแบบหรือเลือกเครื่องมือเพื่อประเมินอะไร (เนื้อหาหรือทักษะ) ทักษะใดบ้างที่ต้องการจะประเมิน (how and when) เป้าหมาย 3 ประการของการประเมิน (ความรู้เดิมของนักเรียน, การส่งเสริมการเรียนรู้และการแสดงให้รู้ถึงความเข้าใจ)
หน่วยที่ 4: การวางแผนโครงงาน สิ่งที่ต้องคำนึงถึง โครงสร้างโครงงาน กลยุทธ์การจัดการ กิจกรรมและภาระงาน
หน่วยที่ 5: การชี้แนะการเรียนรู้ ความสำคัญของการตั้งคำถามในห้องเรียน (why and how) การร่วมมือกันทำงาน (how) ความรู้ความเข้าใจในข้อมูลสารสนเทศ (how) การสะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้ (how)